เอกสารประชุมวิชาการระดับขาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 2561
411 งานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน (Research and Innovation for Social Stability, Prosperity and Sustainability) 2 บทนา ศาสนาฮินดู 4 มีประวัติความเป็นมายาวนาน นับตั้งแต่ชนชาติอารยันเข้ามาตั้งถิ่นฐานในประเทศอินเดีย ชาว อินเดียเชื่อว่าศาสนาฮินดูสืบทอดมาจากคัมภีร์พระเวทàึ่งùĖษีในสมัยก่อนได้รับโดยตรงจากพระเป็นเจ้า คัมภีร์พระเวทที่ สาคัญมีชื่อเรียกว่า คัมภีร์ศรุติ _ ruti) ศาสนาฮินดูไม่มีศาสดาและเป็นศาสนาที่มีความเชื่อในเทพเจ้าหลายองค์ ศาสนาฮินดู มีหลายนิกาย อาทิ ไศวะนิกาย คือนิกายที่ถือว่าพระศิวะ หรือพระอิศวร เป็นเทพเจ้าสูงสุด และ ไวษณวนิกาย คือ นิกายที่ นับถือว่าพระวิษณุ หรือพระนารายณ์ เป็นเทพเจ้าสูงสุด ชาวฮินดูเชื่อว่า เทพเจ้ามีสถานภาพเป็นบุคคล Personal God) แต่อยู่ในลักษณะที่เหนือโลก transcendental) เมื่อเทพเจ้าต้องการที่จะมาเกี่ยวข้องกับโลก immanent) ก็จะปรากฏตน ในรูปของ “ พระพรหมา ” เพื่อทาการสร้างโลก ในรูปของ “ พระวิษณุ ” เพื่อรักษาคุ้มครองโลก และในรูปของ “ พระ ศิวะ ” เพื่อทาลายล้างโลกเมื่อถึงกาลสิ้นยุค ชาวฮินดูเรียกเทพเจ้าàึ่งรวมสามพระลักษณะรวมเข้าด้วยกันว่า “ ตริมูรติ ” สัญลักษณ์ของศาสนาฮินดู คือ ตัวอักษรภาษาสันสกùตอ่านว่า “ โอม ” ( ॐ àึ่งเล็งถึง ตริมูรติ นั่นเอง [1] ชาวฮินดูอินเดียเข้ามาค้าขายยังบริเวณย่านชายòŦũงทะเลของคาบสมุทรมลายูและหมู่เกาะต่างė หลายศตวรรษ ก่อนที่ชาวพื้นเมืองจะรับเอาอารยธรรมฮินดูเข้ามาเป็นแบบอย่างผสมผสานกับวัฒนธรรมเดิม ชาวฮินดูอินเดียกลุ่มแรก ė เดินทางเข้ามายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในสมัยต้นพุทธกาล ต่อมาในพุทธศตวรรษที่ 6-7 การค้ากับชาวฮินดูอินเดียเพิ่มขึ้น เป็นอย่างมาก พ่อค้าชาวฮินดูอินเดียเข้ามาตั้งหลักแหล่งค้าขาย บางส่วนได้แต่งงานกับคนท้องถิ่น และคนท้องถิ่นก็รับเอา อารยธรรมฮินดูเข้ามาอย่างรวดเร็วทั้งในเรื่องความเชื่อและการปฏิบัติ อารยธรรมฮินดูมีอิทธิพลด้านศาสนาและความเชื่อ กษัตริย์หรือชนชั้นปกครองของเมืองต่าง ė นิยมเชื้อเชิญพราหมณ์ชาวอินเดียเข้ามาแนะนาด้านกãหมายและการใช้ภาษา เขียนเพื่อใช้ในการค้า การปกครอง และการบริหารบ้านเมือง [2] ตัวอย่างเช่น ในราวปี พ . ศ . พุทธศาสนาได้แผ่ขยาย จากอินเดียเข้าสู่ประเทศไทยโดยตั้งมั่นอยู่ที่สุโขทัย พระมหากษัตริย์ราชวงศ์พระร่วงทรงเอาพระทัยใส่ทานุบารุงพุทธศาสนา ในขณะเดียวกันก็ทรงเอาธุระในศาสนาฮินดูด้วย ในราชสานักมีพราหมณ์พระศรีมโหสถพระมหาราชครูเป็นปุโรหิตทาหน้าที่ ถวายความรู้วิทยาการสาหรับกษัตริย์และพระราชอาณาจักร ตลอดจนประกอบพระราชพิธีตามคัมภีร์พระเวท [3] ปŦจจุบันประเทศไทยมีจานวนประชากรที่นับถือศาสนาฮินดูจานวน 41,808 คน คิดเป็นร้อยละ 0.06 ของจานวน ประชากรทั้งหมด ส่วนใหญ่เป็นผู้มีเชื้อสายอินเดีย [4] โดยองค์กรศาสนาฮินดูในประเทศไทยที่ทางราชการให้การรับรอง ได้แก่ สานักพราหมณ์พระราชครูในสานักพระราชวัง 5 สมาคมฮินดูธรรมสภา 6 และสมาคมฮินดูสมาช 7 [5] ผู้วิจัยมีความสนใจศึกษาทรัพยากรวัฒนธรรมของชุมชนชาวฮินดูเชื้อสายอินเดียในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เนื่องจากการสังเกตในภาคสนามพบว่า มีชาวฮินดูเชื้อสายอินเดียประกอบกิจการโดยเฉพาะร้านขายผ้าในย่านธุรกิจการค้าทั้ง ในเขตเทศบาลเมืองปŦตตานี เทศบาลนครยะลา และเทศบาลเมืองนราธิวาส นอกจากนั้นแล้ว จากการทบทวนวรรณกรรมยัง ไม่พบงานวิจัยที่ศึกษาทรัพยากรวัฒนธรรมของชุมชนชาวฮินดูเชื้อสายอินเดียในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้อีกด้วย 4 ศาสนาพราหมณ์และศาสนาฮินดูเป็นศาสนาเดียวกัน โดยศาสนาฮินดูพัฒนามาจากศาสนาพราหมณ์ บางครั้งเรียกว่าศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู 5 สมัยรัตนโกสินทร์เมื่อสร้างพระนครและประกอบพิธีราชาภิเษกแล้ว พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟŜาจุāาโลกมหาราชทรงพระกรุณาโปรด เกล้าให้สร้างเทวสถานขึ้นเมื่อพุทธศักราช 2327 เพื่อบูชาเทพเจ้าที่สาคัญคือพระศิวะ พระนารายณ์ และพระพรหม และทรงให้สร้างเสา ชิงช้าขึ้นตรงหน้าเทวสถานด้วย และได้โปรดเกล้าĄ ให้พราหมณ์จากปŦกษ์ใต้ขึ้นมารับสนองพระบรมราชโองการเป็นพราหมณ์ประจาราช สานักปฏิบัติพระราชพิธีสาหรับพระองค์และพระราชอาณาจักร โดยให้ประกอบพระราชพิธีตรียัมปวาย - ตรีปวาย ( โล้ชิงช้า àึ่งเป็นการขอพร จากพระอิศวรเพื่อให้พระนครมั่นคงแข็งแรงและมีความอุดมสมบูรณ์ เมื่อทาพิธีนี้แล้วถือว่าการสร้างพระนครได้สาเร็จลงโดยสมบูรณ์ ปŦจจุบันพราหมณ์ราชสานักมีฐานะเป็นข้าราชการในพระราชสานัก ขึ้นตรงต่อกองพระราชพิธี สานักพระราชวัง 6 ในราวปี พ . ศ . 2454 ชาวอินเดียทมิāที่ได้ตั้งรกรากอยู่ในย่านสีลมมีความเห็นว่าศาลเจ้าแม่ศรีมหาอุมาเทวีมีความศักดิĝสิทธิĝเป็นที่เคารพ สักการบูชา จึงพร้อมใจกันสร้างเทวาลัยขึ้นและนาองค์เจ้าแม่มาประดิษฐานเป็นพระประธานและนาองค์เทวะต่าง ė มาจากประเทศอินเดีย ก่อสร้างเพิ่มเติม ต่อมาได้กลายเป็นที่ชุมนุมของชาวอินเดีย จนชาวบ้านขนานนามวัดนี้ว่า “ วัดแขกสีลม ” และได้มีการจัดงานเทศกาล ประจาปีนับแต่นั้นเป็นต้นมา จากนั้นได้มีการจดทะเบียนเป็น “ มูลนิธิวัดพระศรีมหามารีอัมมัน ” เมื่อวันที่ 8 พùษภาคม พ . ศ . 2458 และใน ปีเดียวกันได้àื้อที่ดินเพิ่มเติมและจดทะเบียน “ สมาคมฮินดูธรรมสภา ” โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่และส่งเสริมศาสนาฮินดู สร้างและ ส่งเสริมมิตรภาพกับศาสนาอื่นė ตลอดจนร่วมมือกับกรมการศาสนาปฏิบัติตามนโยบายและโครงการของรัฐบาลไทย 7 เกิดจากการรวมกลุ่มของผู้นับถือศาสนาฮินดูชาวอินเดียปŦญจาบ โดยจัดตั้งสมาคมขึ้นมีชื่อเรียกว่า “ ฮินดูสภา ” เมื่อราวปี พ . ศ . 2468 ตั้งอยู่บริเวณหลังวังบูรพา ต่อมาในราวปี พ . ศ . 2 ก็ได้เปลี่ยนชื่อสมาคมเป็น “ ฮินดูสมาช ” และย้ายมาตั้งอยู่ ณ อาคารเลขที่ 6 -2 ถนนศิริพงษ์เสาชิงช้า แขวงสาราญราษãร์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร การจัดตั้งสมาคมมีจุดประสงค์เพื่อรวมกลุ่มกันทาศาสนกิจและทา ประโยชน์สาธารณะ ตลอดจนให้ความช่วยเหลือด้านต่างė ในกลุ่มชาวอินเดียปŦญจาบด้วยกัน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3