Proceeding2562
1042 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 2 Styrofoam assimilation of Mealworm ( Tenebrio molitor Linnaeus, 1758) Krirkchai Sarsrisuk 1* Yuphin Phimkhot 2 and Noppadon Sukrakanchana 3 Abstract Introduction : Styrofoam is one of the hard-degraded materials and harmful to any organism. Elimination of Styrofoam using biological process such as application of bacteria in digestive tract of larval stage of some insects may be interested alternative. Objectives : To study Styrofoam degradation rate of Mealworm ( Tenebrio molitor Linnaeus, 1758) under different densities of and starving times before feeding on Styrofoam . Methods : Completely randomized design was used to investigate Styrofoam degradation rate of Mealworm under different densities of 800, 1,600, 3,200, 4,800 and 6,400 worms/m 2 ). The same size and quantity of Styrofoam was applied to each treatment. The density with highest rate of Styrofoam degradation was then experimented under 6 different starving times before feeding on Styrofoam ( 0, 1, 2, 3, 6, 12 and 24 hours). Data were statistically analysed by using one way ANOVA. Results : Styrofoam degradation rate of Mealworm under 5 density levels was shown as percentage of 0.9558, 1.0178, 1.8767, 0.7643 and 0.5334, respectively. Mealworm with the density of highest rate Styrofoam degradation (3,200 worms/m 2 ) exhibited Styrofoam degradation rate of 0.9053, 0.9565, 1.6444, 2.0072, 2.4938 and 3.4867 percent, respectively under 6 different starving times before feeding on Styrofoam. Each treatment showed significant differences at the level of confidence 95% (p<0.05). Conclusion : Mealworm cultured under density level of 3,200 worms/m 2 with 24 hours starving time before feeding on Styrofoam exhibited the highest rate of Styrofoam degradation. There is possibility to apply biological process using assimilation of Mealworm in Styrofoam degradation. Keywords : Mealworm, Styrofoam assimilation, Biological process บทนา หนอนนกมีแหล่งกาเนิดอยู่ในเขตหนาวแถบทวีปยุโรป เป็นตัวอ่อนของแมลงปีกแข็งตระกูล มอด ด้วง และมีชื่อ เรียกอื่น ๆ ได้แก่ หนอนรา มอดราข้าวสาลี หนอนราข้าวสาลี แต่ที่คนส่วนใหญ่รู้จักและเรียกกันทั่ว ๆ ไปคือ “หนอนนก” ความจริงแล้วเป็นเพราะลักษณะของการนาหนอนไปใช้ประโยชน์ในรูปของอาหารให้นกกินจึงมักถูกเรียกว่า “หนอนนก” โดยทั่วไปแล้วหนอนนกสามารถกินอาหารได้อย่างง่ายและหลากหลายไม่ว่าจะเป็นราสาลี ข้าวโอ๊ต ใบไม้ รวมไปจนถึง พลาสติกและสไตโรโฟม จากการศึกษาของ Craig Criddle and Jun Yang (2015) ทาการวิจัยและค้นพบว่า มีหนอน ชนิดหนึ่งซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในวงการเลี้ยงสัตว์ ชื่อว่า Mealworm หรือหนอนนก สามารถกินและย่อยสลายพลาสติกที่ปกติ ย่อยสลายได้ยากมาก (หรือนับได้ว่าย่อยสลายไม่ได้) ในธรรมชาติ เช่น กล่องโฟม (Styrofoam) ที่ทาจากพอลิเมอร์ชื่อ พอ ลิสไตรีน (Polystyrene) โดยการย่อยสลายเกิดขึ้นผ่านจุลินทรีย์ในลาไส้ของหนอนนก (Kathiann Kowalski, 2015) ปัจจุบันโฟมหรือสไตโรโฟมถูกทิ้งเป็นขยะด้วยปริมาณและสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็นขยะที่มีความคงทน และสามารถทนต่อแรงอัดได้สูง และใช้เวลาในการย่อยสลายนานกว่า 100 ปี ก่อให้เกิดปัญหาทางด้านมลพิษ สิ้นเปลือง งบประมาณ และพื้นที่ฝังกลบได้ กระบวนการกาจัดขยะโฟม จึงต้องมีความระมัดระวัง และปลอดภัยมากที่สุด คือจะต้องมี การเผาโฟมในอุณหภูมิที่เหมาะสมให้อยู่ภายใต้การควบคุมที่ถูกต้อง เพื่อเลี่ยงผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นต่อประชาชน นอกจากนี้ เมื่อถูกนาไปใช้บรรจุอาหารที่ร้อนจัดจะเกิดปฏิกิริยาที่ทาให้สารอันตรายแตกตัวออกมาจากภาชนะโฟมได้อีก
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3