Proceeding2562
1052 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ภาพที่ 3 จานวนไข่ของแมลงหวี่ที่เลี้ยงในอาหารสูตรต่างๆ ; ชุดควบคุม คือ อาหารสูตรข้าวโพดบด มีปริมาณยีสต์ 2%; C1 คือ อาหารสูตรข้าวโพดบด มีปริมาณยีสต์ 3%, T1 คือ อาหารสูตรเนื้อตาลโตนดสุก มีปริมาณยีสต์ 3%; C2 คือ อาหารสูตรข้าวโพดบด มีปริมาณยีสต์ 4%; T2 คือ อาหารสูตรเนื้อตาลโตนดสุก มีปริมาณยีสต์ 4% สรุปผลการวิจัย จากผลการศึกษาเปรียบเทียบจานวนไข่ของแมลงหวี่ที่เลี้ยงในอาหารสูตรข้าวโพดบด (สูตรเดิม) กับอาหารสูตร เนื้อตาลโตนดสุกที่มีการเพิ่มปริมาณยีสต์เป็น 3% และ 4% โดยมีชุดควบคุมคืออาหารสูตรเดิมที่มีปริมาณยีสต์ 2% สรุปว่าอาหารสูตรเดิมและสูตรเนื้อตาลโตนดสุกที่เพิ่มปริมาณยีสต์ 3% และ 4% สามารถเพิ่มการผลิตไข่ของแมลงหวี่ได้ มากแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญกับสูตรควบคุมที่มีปริมาณยีสต์ 2% และสูตรที่สามารถเพิ่มการผลิตไข่ของแมลงหวี่ได้มาก ที่สุด คืออาหารสูตรเดิมและสูตรเนื้อตาลโตนดสุกที่เพิ่มปริมาณยีสต์ 4% แต่ทาให้แมลงหวี่ ผลิตไข่ได้มาก ไม่แตกต่างทาง สถิติ ( P >0.05) ดังนั้น จึงสามารถเลือกใช้อาหารสูตรใดก็ได้ ตามความเหมาะสม เอกสารอ้างอิง [1] ภัทราพร ผูกคล้าย. (2558). “การเปลี่ยนแปลงวงชีวิตของแมลงหวี่,” ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ “พิบูล สงครามวิจัย 2558 ”, (หน้า 1-4). วันที่ 13-14 กุมภาพันธ์ 2558 ณ ศูนย์วัฒนธรรมภาคเหนือตอนล่าง. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม. [2] Laila, A.H., Torsten, K.N., Loeschcke, V., Toft, S. and Mayntz, D. ( 2009) . “Protein and carbohydrate composition of larval food affects tolerance to thermal stress and desiccation in adult Drosophila melanogaster ,” J insect Physiol . 56 (2010), 336-340. 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ชุดควบคุม C1 T1 C2 T2 จานวนไข่ (ฟอง) สูตรอาหาร
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3