Proceeding2562
1062 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย 1. การจ้าแนกชนิดของหนู ผลจากการศึกษาส้ารวจหนอนพยาธิในหนูบ้าน จากต้าบลก้าแพงเซา อ้าเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ในระหว่างเดือนสิงหาคม ปี 2560 ถึงเดือนพฤศจิกายน ปี 2560 ท้าการดักจับหนูโดยใช้กรงดักหนู หนูที่ดักจับได้จ้านวน ทั้งหมด 41 ตัว สามารถจัดจ้าแนกชนิดของหนูที่พบได้ 3 ชนิด ได้แก่ หนูจี๊ด ( Rattus exulans ) 31 ตัว หนูหริ่งบ้าน ( Mus musculus ) 6 ตัว และหนูท้องขาวหรือหนูหลังคา ( Rattus rattus ) 4 ตัว 2. ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของหนอนพยาธิ 2.1 Taenia taeniaeformis ระยะ Strobilocercus larval (Cook and Williams, 1981) เป็นตัวอ่อนล้าตัวยาว มีผนังบางเป็นเส้นใย Strobilocercus แต่ละตัวมีสีขาวขุ่น ตัวอ่อนจะขด อยู่ในถุง Cyst เมื่อท้าการ Excyst ตัวอ่อนจะค่อย ๆ คลายตัวออกและยืดตัว ความยาวของล้าตัวมีตั้งแต่ 46.15–58.59 มิลลิเมตร ตัวอ่อนจะมีลักษณะปล้องที่ยังไม่แบ่งเป็นปล้องชัดเจน ส่วนหัวมี Sucker 4 อัน มีลักษณะกลมเป็นรูปถ้วย มี Hook อยู่ทางด้าน Anterior เรียงตัวกันเป็นวงกลม 2 แถวสลับกัน มี 2 ขนาด ความยาวของ Hooks ขนาดใหญ่ เท่ากับ 0.3 มิลลิเมตร และความยาวของ Hooks ขนาดเล็กเท่ากับ 0.18 มิลลิเมตร ภาพที่ 1 รูปถ่ายหนอนพยาธิตัวตืด T . taeniaeformis (ระยะ Strobilocercus larval) ภาพที่ 2 ภาพวาดลักษณะสัณฐานวิทยาทางด้าน Anterior ของหนอนพยาธิตัวตืด T . taeniaeformis (ระยะ Strobilocercus larval) วาดที่ก้าลังขยาย 100 เท่า ภาพที่ 3 ภาพวาดแสดงการจัดเรียงของ Hooks ของหนอนพยาธิตัวตืด T . taeniaeformis (ระยะ Strobilocercus larval) วาดที่ก้าลังขยาย 100 เท่า
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3