Proceeding2562
1063 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 2.2 Hymenolepis diminuta (Olfers, 1766) หนอนพยาธิตัวตืดที่มีขนาดเล็กมาก ส่วนหัวจะมี Rostellum ที่มี Hooks อยู่และสามารถยืดยึดได้ดี แว่นดูด (Sucker) ที่หัวมี 4 อัน มีลักษณะเป็นรูปถ้วยกลม รูเปิด (Genital pore) จะอยู่ด้านข้างล้าตัว และค่อนไปทางด้านหน้า ของปล้อง ปล้องแต่ปล้องจะมีความกว้างมากกว่าความยาว ส่วนอวัยวะภายในเห็นไม่ชัดเจน ภายในปล้องแก่ (Gravid proglottid) มีความกว้างของปล้องเท่ากับ 1.1–1.2 มิลลิเมตร จะมีไข่บรรจุอยู่เต็ม ไข่มีลักษณะกลมมองเห็นไม่ ค่อยชัด ปล้องไข่ด้านท้ายจะมีขนาดใหญ่สุด และปลายทางด้าน (Posterior end) ค่อนข้างมนเล็กน้อย ภาพที่ 4 ภาพถ่ายลักษณะสัณฐานวิทยาของหนอนพยาธิตัวตืด H. diminuta ภาพ ก. ลักษณะของ Scolex และ Neck ของหนอนพยาธิตัวตืด H . diminuta ก้าลังขยาย 100 เท่า ภาพ ข. ลักษณะของ Immature segment ที่ก้าลังขยาย 100 เท่า ภาพ ค. ลักษณะของ Mature segment ที่ก้าลังขยาย 100 เท่า 2.3 Angiostrongylus cantonensis (Chen, 1935) พยาธิตัวเต็มวัยมีรูปร่างเรียวยาว ผิวเรียบ ( Cuticle) แต่มีรอยขีดขวางกลางล้าตัวจางๆ ตลอดทั้งตั ว เมื่อยังมีชีวิตล้าตัวใสปลายด้านหัวมนกลม ส่วนหัวมี Lip 3 อัน ช่องปากไม่เจริญเป็น Buccal capsule แต่เป็นช่องปาก เล็กๆ หลอดอาหารเป็นชนิดฟิลาริฟอร์ม (Filariform) จากนั้นเป็น Intestine ที่เป็นท่อยาวตรงไปเปิดออกที่ทวารหนัก (Anus) ซึ่งอยู่ใกล้ปลายหาง เพศผู้: ล้าตัวกว้าง 0.08–40.0 มิลลิเมตร ยาว 15.43–25 มิลลิเมตร ล้าตัวใสอาจจะมองเห็นล้าไส้ติดสีแดง ทอดยาวตลอดล้าตัว (เนื่องจากกินเลือดเข้าไป) ปลายหางจะมี Bursa copulatrix เป็นรูปไตโครงสร้างของ Bursa ray มีลักษณะเฉพาะ มี Spicule 2 อัน ขนาดเท่าๆ กัน รูปร่างเรียวยาวมีลายขีดขวางชัดเจน เพศเมีย: ขนาด 0.08-0.42 มิลลิเมตร มีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ เมื่อยังมีชีวิตอยู่ล้าตัวลักษณะลายแดงสลับขาว คล้ายเครื่องหมายร้านตัดผมที่เรียกว่า Barber’s pole pattern เกิดจากท่อมดลูก (Uterine tubules) ซึ่งภายใน มีไข่บรรจุอยู่มองดูเป็นสีขาวขุ่นขดเป็นเกลียวพันล้าไส้ มีเลือดบรรจุอยู่ ปลายหางทู่และไม่มี Minute projection ข . ก . ค .
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3