Proceeding2562

1066 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน หนอนพยาธิเท่ากับร้อยละ 25 โดยหนอนพยาธิที่พบในการศึกษาครั้งนี้ 2 ชนิดคือ Angiostrongylus cantonansis และ Hymenolepis diminuta พบว่ามีการรายงานการติดเชื้อและก่อโรคได้ทั้งในคนและสัตว์เลี้ยง เมื่อเปรียบเทียบระหว่างเพศของหนูจี๊ด จ้านวน 31 ตัว น้าไปทดสอบความแตกต่างทางสถิติ ท้าการวิเคราะห์ ด้วยวิธี Chi-square Test โดยใช้ IBM SPSS Statistics version 17 พบจ้านวนหนูแต่ละเพศที่มีการติดเชื้อไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยส้าคัญ (P ≥ 0.05) กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณอาจารย์ ดร.ธนพล อยู่เย็น และอาจารย์ ดร.ทวีเดช ไชยนาพงษ์ ที่ให้ค้าแนะน้าแนวทางในการศึกษา ค้นคว้า ตลอดจนตรวจทานแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ จนงานวิจัยนี้ส้าเร็จลุล่วง และขอขอบคุณสาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณที่สนับสนุนเงินในการศึกษา เอกสารอ้างอิง [1] นพคณุ ภักดีณรงค์ และญาณิศา นราพงษ์. (2560). “หนู: พาหะน้าโรคที่ส้าคัญทางการแพทย์ Rats: A Major Reservoir Host in Medical Diseases,” วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี . 19 (2), 55-65. [2] ส้านักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย. “การควบคุมพาหะน้าโรค หนู,”. [3] Kataranovski M., Mirkov I., Belij S., Popov A., Petrovic Z., Gacic Z., and Kataranovski D. ( 2011) . “Intestinal helminths infection of rats (Rattus norvegicus) in the belgrade area (Serbia): The effect of sex, age and habitat,” Parasitic zoonoses in Europe . 18, 189-196. [4] อัญชนา ประศาสน์วิทย์. (2557). “หนู การส้ารวจประชากรและการควบคุม,” กลุ่มโรคติดต่อระหว่างประเทศ สานักงานโรคทั่วไป . [5] ญาณิศา นราพงษ และนพคุณ ภักดีณรงค . (2559). “ความชุกของหนอนพยาธิในทางเดินอาหารของหนูวงศ์ Murinae จากจังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย และสุรินทร์,” วารสารวิทยาศาสตร มข . 44 (1), 32-42. [6] กิตติพงษ์ ฉายศิริ วิน เชยชมศรี และจินดาวรรณ สิรันทวิเนติ. (2010). “หนอนพยาธิในทางเดินอาหารของหนูชนิด ต่าง ๆ จากจังหวัดเลย ประเทศไทย,” วารสารวิทยาศาสตร์ มศว . 26 (2), 112-126. [7] หทัยทิพย์ แก้วโคมลอย. (2557). “การส้ารวจหนอนพยาธิในหนูที่พบบริเวณหอพักนิสิต มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยา เขตพัทลุง,” สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง. [8] Lafferty, K.D. and Kuris, K.M. (1999). “Parasitism and environmental disturbances,” In Thomas, F., Renaud, F. and Guegan, J.F. (Eds). Parasitism and ecosystems . New York: Oxford University.pp. 113–123.

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3