Proceeding2562
1073 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 7 Sarcophagidae Sarcophaginae Sarcophaga sp. 31±21.74 2±1.41 Sepsidae - Allosepsis indica 16.25±6.40 587.25±303.75 Stratiomyidae Hermetiinae Hermetia illucens 0.75±0.96 0.25±0.5 Coleoptera Cleridae Korynetinae Necrobia ruficollis 133±148.35 361.75±184.59 Necrobia rufipes 83.5±74.36 15.75±15.20 Dermestidae Dermestinae Dermestes maculatus 0.75±0.5 0.25±0.5 Histeridae Histerinae Saprinus sp. 4.75±5.85 0 Hydrophilidae Sphaeridiinae Sphaeridium sp. 0 2.75±3.77 Scarabaeidae Scarabaeinae Onthophagus sp. 4.75±3.86 0 Staphylinidae Staphylininae Ontholestes sp. 7±8.72 0 Hymenoptera Formicidae Formicinae Camponotus sp.1 0 18±22.98 Camponotus sp.2 0 2.25±2.63 Oecophylla smaragdina 0 165.5±304.92 Myrmicinae Crematogaster sp. 0 1076.5±133.21 Monomorium sp. 139±253.30 0 Pheidole sp. 185±259.29 870.75±398.81 Ponerinae Diacamma sculpturata 39.5±25.98 24.75±11.70 Pseudomyrmecinae Tetraponera attenuata 0 13±17.22 Dermaptera Anisolabididae Anisolabidinae Euborellia sp. 5±6.68 3±2.31 สรุปผลการวิจัย ความรู้ทางกีฏวิทยานั้นมีประโยชน์อย่างมากในงานทางด้านนิติวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการประมาณ ระยะเวลาหลังการตาย ซึ่งจาเป็นจะต้องอาศัยข้อมูลทั้งการศึกษาชนิดของแมลงหรือการศึกษาวงจรชีวิตของแมลงที่ เกี่ยวข้องกับซากศพ โดยในการศึกษาครั้งนี้ได้รายงานถึงความมากชนิดและจานวนตัวของแมลงชนิดที่พบบนศพในระยะ ท้ายของการเน่าสลายในพื้นที่โล่งแจ้งและร่มไม้ จากการศึกษาครั้งนี้ พบว่าความหลากชนิดแมลงที่พบทั้ง 2 พื้นที่ใกล้เคียง กัน และด้วงชนิด Necrobia ruficollis เหมาะสาหรับใช้เป็นตัวแทนในการประมาณระยะเวลาหลังการตายในระบบนิเวศ แบบโล่งแจ้งและร่มไม้ กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ภาควิชาชีววิทยา และพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา 50 พรรษา สยามบรมราชกุมารี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ที่สนับสนุนด้านสถานที่และ อุปกรณ์ในระหว่างการเก็บตัวอย่างและวิเคราะห์ข้อมูล เอกสารอ้างอิง [1] พัดชา คุ้มประยูร, สุรไกร เพิ่มคา, วีระชัย สมัย และ นาวี หนุนอนันต์. (2556). ชนิดแมลงที่เข้าทาลายซากหมูในพื้นที่ อนุรักษ์เขาคอหงส์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จังหวัดสงขลา. การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 3: หน้า 1–14.
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3