Proceeding2562

1078 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 4 2.การวิเคราะหขอมูลทางสถิติ ทําการทดสอบปจจัยคงที่ (fixed effects) ไดแก ลักษณะคอลอนของพอพันธุ ลักษณะคอลอนของแมพันธุ และชุดฟก และปจจัยที่กําหนดใหเปนความแปรปรวนรวม (covariate) ไดแก จํานวนวันหลังผสมเทียม และ ระยะเวลาเก็บรักษาไขที่มีผลตอการผสมติดและการฟกออก ดวยการวิเคราะหการถดถอยโลจิติกส ดวยคําสั่ง PROC GENMOD procedure โดยใชโปรแกรม SAS [7] สามารถเขียนในรูปตัวแบบจําลองทางสถิติไดดังนี้ �� p (1 − p) = b � + b � DI + b � SD + b � NC + b � NH + b �� H � เมื่อ: �� � (���) = the log odds, p =ความนาจะเปนที่คาสังเกตเทากับ 1 (y=1), DI = จํานวนวันหลังผสม เทียม (the day after insemination), SD = ระยะเวลาเก็บรักษาไข (egg storage duration), NC = ลักษณะคอ ลอนของพอพันธุ (Naked-neck phenotype of cock), NH = ลักษณะคอลอนของแมพันธุ (Naked-neck phenotype of hen), H = ชุดฟก (hatch), b 0 = จุดตัดแกนตั้ง, b 1 = สัมประสิทธิการถดถอยของจํานวนวันหลัง ผสมเทียม, b 2 = สัมประสิทธิการถดถอยของระยะเวลาเก็บรักษาไข, b 3 และ b 4 = สัมประสิทธิการถดถอยของ ลักษณะคอลอนในพอและแมพันธุ และ b 5i = สัมประสิทธิการถดถอยของชุดฟก H i vs H 4 เมื่อ i = 1 2 3 และ 4 ผลและวิจารณผลการทดลอง 1. ประสิทธิภาพการฟกไข ประสิทธิภาพการฟกไขของไกคอลอนในการศึกษาครั้งนี้แสดงใน Table 1 พบวา อัตราการผสมติด อัตรา การฟกออกของไขมีเชื้อ และอัตราการฟกออกของไขทั้งหมด เทากับ 72.05 79.10 และ 54.99% ตามลําดับ สวน ประสิทธิภาพการฟกไขเมื่อจําแนกตามอิทธิพลของลักษณะคอลอนของพอพันธุและแมพันธุ และชุดฟกแสดงใน Table 2 Table 2 Percentages of fertility (FE), hatchability of fertile eggs (HF) and hatchability of egg set (HS) in Naked-neck chicken Item FE (%) HF (%) HS (%) Naked-neck phenotype of cock NaNa 74.32 73.91 53.68 Nana + 69.96 84.30 56.20 Naked-neck phenotype of hen NaNa 71.79 76.36 53.85 Nana + 63.11 79.96 55.35 Hatch 1 69.44 75.90 50.00 2 69.26 80.00 53.33 3 74.54 77.44 55.72 4 75.76 83.78 62.63 Total 72.05 79.10 54.99

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3