Proceeding2562

1080 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 6 ปจจัยชุดฟกมีผลตออัตราการผสมติดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) โดยอัตราการผสมติดผันแปรอยู ในชวง 69.26–75.76% (Table 2) โดยพบวา ชุดฟกที่ 1 และ 3 มีอัตราการผสมติดไมแตกตางกับชุดฟกที่ 4 โดยมี คา OR เทากับ 0.71 และ 0.84 (p>0.05) แตชุดฟกที่ 2 มีอัตราการผสมติดต่ํากวาชุดฟกที่ 4 โดยมีคา OR เทากับ 0.63 (p<0.05) ในขณะที่อัตราการฟกออกของไขมีเชื้อทั้ง 4 ชุด มีคาอยูในชวง 75.90–83.78% โดยไมมีความ แตกตางกันทางสถิติ (p>0.05) การศึกษาครั้งนี้ทําการผสมเทียมดวยน้ําเชื้อรายตัว ความถี่สัปดาหละ 1 ครั้ง มีอัตราการผสมติด 72.05% มีคา อัตราการฟกออกของไขมีเชื้อเทากับ 79.10% ใกลเคียงกับ Adeleke et al. [3] รายงานวาอัตราการผสมติดของ ไกคอลอนมีคาอัตราการผสมติดและอัตราการฟกออกของไขมีเชื้อเทากับ 78.7 และ 71.3% ตามลําดับ คาอัตราการ ผสมติดเปนคาที่บงบอกประสิทธิภาพในการผสมพันธุ การจัดการไกพอแมพันธุ สวนคาอัตราการฟกออกของไขมีเชื้อ แสดงการจัดการในตูฟกและตูเกิดมีความเหมาะสมหรือไม [5] และปจจัยทางพันธุกรรมอาจจะมีผลตอการฟกออก ของไกคอลอนดวย โดยเฉพาะลักษณะคอลอน ซึ่งเปนสิ่งที่ตองทําการศึกษาเพิ่มเติมตอไปในอนาคต จากการศึกษาจะ เห็นไดวาการฟกไขมีปจจัยสิ่งแวดลอมเขามามีผลอยางมาก ดังนั้นหากตองการปรับปรุงประสิทธิภาพการฟกไขของไก คอลอนตองมีการปรับปรุงการจัดการ ทั้งการผสมเทียม การจัดการไขฟก การจัดการตูฟกไขเพื่อใหมีประสิทธิภาพ การฟกไขอยูในระดับดี สรุปผลการวิจัย การศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาปจจัยที่มีผลตอการผสมติดและการฟกออกของไกคอลอน พบวา 1. อัตราการผสมติด อัตราการฟกออกของไขมีเชื้อ และอัตราการฟกออกของไขทั้งหมด เทากับ 72.05 79.10 และ 54.99% ตามลําดับ 2. การผสมติดของไขจากพอไกคอลอน NaNa สูงกวาพอพันธุไกคอลอน Nana + (p<0.05) แตการฟกออก ของไขจากพอไกคอลอน NaNa ต่ํากวาพอพันธุไกคอลอน Nana + (p<0.05) 3. จํานวนวันหลังการผสมเทียมที่เพิ่มขึ้นทุกๆ 1 วัน มีผลใหการผสมติดและการฟกออกของไขทั้งหมดลดลง กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยโครงการวิจัยเงินรายไดมหาวิทยาลัยทักษิณ กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัย ทักษิณ ประเภททุนยุทธศาสตร ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 เอกสารอางอิง [1] วรวิทย วณิชาภิชาติ, สุธาวัฒนสิทธิ์, พรรณวดี โสพรรณรัตน, อุษา เชษฐานนท, ศิริวัฒน วาสิกศิริ, จิตผกา ธนปญญารัชวงค, ศยาม ขุนชํานาญ และวิศาล อดทน. 2548. รายงานวิจัยเรื่อง การศึกษาและ พัฒนาการผลิตไกพื้นเมืองในภาคใต . ภาควิชาสัตวศาสตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. [2] Abraham, B. and J. Ledolter. 2006. Introduction to Regression Modeling . Thomson Brooks/Cole, USA.

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3