Proceeding2562

1117 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน บทน้า ปู น้้ า จื ด ห ม า ย ถึ ง สั ต ว์ ไ ม่ มี ก ร ะ ดู ก สั น ห ลั ง จั ด อ ยู่ ใ น Phylum Arthropoda Class Crustacea Family Parathelphusidae มีสมาชิกร่วม Class ตั้งแต่ไรน้้าขนาดเล็กและกุ้งชนิดต่างๆ ลักษณะทั่วไป คือ ร่างกายเป็นแบบหัวเชื่อม อก (Cephalothorax) ที่มีแผ่นคาราเพส (Carapace) ปกคลุมทางด้านหลัง และข้างมีรยางค์ (Appendage) ขาเดินเป็นข้อต่อ เรียงต่อกันตรงปลายข้อ (แบบ Uniramous) จ้านวน 8 ขาเดิน ส่วนอีก 2 ขา ถูกดัดแปลงไปเป็นก้ามช่วยจับอาหารเข้าปากและ ป้องกันตัว [1] โดยปูน้้าจืดที่พบในประเทศไทยมีทั้งหมด 4 กลุ่ม ประกอบด้วย ปูล้าห้วย (Creek crab) ปูน้้าตก (Waterfall crab) ปูป่า (Land crab) และปูนา (Rice-field crab) ปูน้้าจืดทั้ง 4 กลุ่มมีการน้ามาบริโภคเป็นอาหารพื้นบ้านตามแหล่งที่พบ โดยปูน้้าจืดหลายชนิดมีการติดเชื้อตัวอ่อนของปรสิต ตัวอ่อนของพยาธิใบไม้ปอด ( Paragonimus siamensis ) ซึ่งเป็นพาหะ ของโรคพยาธิใบไม้ปอด (Human paragonimiasis) และพยาธิตัวกลม [2] ปูนา จัดเป็นปูน้้าจืดที่อาศัยอยู่ในนาข้าว แหล่งน้้า ท้าให้ปรสิตในปูนามีการติดเชื้อและแพร่กระจายได้ง่าย ปรสิตที่พบ ในปูนา คือ ปลิง ปลิงจัดเป็นปรสิตตัวเบียนที่คอยดูดเลือดสัตว์อื่นๆ จึงต้องมีการปรับตัวหลายประการให้เหมาะกับการ ด้ารงชีวิต ที่ผ่านมามีการเผยแพร่ภาพและวิดีโอของหญิงรายหนึ่งในขณะแกะกระดองปูน้้าจืดพบว่ามีสิ่งมีชีวิตคืบคลานออกมา จากตัวปูจ้านวนมาก ซึ่งปูชนิดนี้นิยมน้ามาใส่ในส้มต้า และดอง ท้าให้เกิดความเข้าใจผิดว่าเป็นพยาธิและท้าอันตรายต่อชีวิต อีกทั้งยังมีรายงานเกี่ยวกับปลิงน้้าจืดในประเทศไทย อาทิเช่น ในเดือนกันยายน 2551 มีประกาศเตือนประชาชนที่อาศัยอยู่ใน เขตที่ประสบปัญหาอุทกภัยเกี่ยวกับปลิง ซึ่งโดยปกติปลิงมักอาศัยในน้้านิ่ง เมื่อมีอุทกภัยปลิงจะสามารถไหลไปตามน้้าท่วมได้ โดยปลิงเป็นสัตว์ดูดเลือดอาจไชเข้าไปในอวัยวะต่างๆ ทั้งนี้มีปลิง 2 ชนิด คือ ปลิงควายและปลิงเข็ม โดยปลิงเข็มสามารถเข้า ทางหู ตา จมูก หรือปากได้ [3] ในเดือนมิถุนายน 2552 ชาวบ้านที่อาศัยอยู่บริเวณริมน้้าแควใหญ่ จังหวัดกาญจนบุรี ได้ร้องเรียนผู้สื่อข่าวว่ามีสัตว์ที่มีรูปร่างคล้ายปลิงเข็มอาศัยในแม่น้้าจ้านวนมาก และเมื่อลงไปเล่นน้้าก็จะเกาะติดตามร่างกาย โดยปลิงที่พบมีความยาว 1-2 เซนติเมตร [4] วิธีด้าเนินการ เลือกพื้นที่เก็บตัวอย่างปูนา ( Esanthelphusa dugasti ) ในพื้นที่ต้าบลเกาะเต่า อ้าเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง คือบริเวณที่เป็นหนองน้้า บริเวณพื้นท้องน้้ามีลักษณะเป็นโคลนหรือทราย ท้าการสุ่มเก็บตัวอย่างปูนาทั้งหมด 64 ตัว ประกอบด้วยตัวอย่างปูนาเพศผู้ 32 ตัว และตัวอย่างปูนาเพศเมีย 32 ตัว โดยการน้าตัวอย่างปูนาใส่ในถุงพลาสติก ถุงละ 1 ตัว และรัดปากถุงด้วยหนังยาง จากนั้นน้ามาตรวจหาปรสิต ณ ห้องปฏิบัติการทางชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ท้าการศึกษาตัวอย่างปูนาทีละตัวโดยศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาภายนอก ได้แก่ ดูเพศ ชั่งน้้าหนัก วัดความกว้างของกระดอง และบันทึกข้อมูล จากนั้นท้าการฉีกตัวอย่างปูนาในขณะที่ตัวอย่างยังมีชีวิต ตรวจหาปลิงน้้าจืดใน กระดอง และส่วนต่างๆ ใช้พู่กันเขี่ยปลิงน้้าจืดทั้งหมดออกมานับจ้านวนภายใต้กล้องจุลทรรศน์ก้าลังขยายต่้า และศึกษา ลักษณะทางสัณฐานวิทยาภายในโดยการท้าสไลด์ถาวรย้อมสีด้วย Haematoxylin ถ่ายภาพ วาดภาพ และระบุชนิดของปลิงน้้า จืดพร้อมทั้งบรรยายลักษณะตามหลักการการจัดจ้าแนกของ Chandra (1991) และ Sawyer (1986) น้าข้อมูลที่ได้จาก การศึกษามาหาค่าอัตราความชุก (Prevalence) และท้าการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเชิงกลุ่ม (Chi-Square test) โดยใช้ IBM SPSS Statistics version 17 โดยใช้ช่วงความเชื่อมั่นเท่ากับ 95 เปอร์เซ็นต์ ผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย จากการส้ารวจพบปลิงน้้าจืดในตัวอย่างปูนา 62 ตัว จ้านวนปลิงน้้าจืดที่พบในตัวอย่างปูนาทั้งหมดจ้านวน 1,569 ตัว ซึ่งพบในตัวอย่างปูนาเพศผู้ 768 ตัว และตัวอย่างปูนาเพศเมีย 801 ตัว ซึ่งสามารถจัดจ้าแนกชนิดของปลิงน้้าจืดที่ตรวจพบโดย ใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยา (Morphology) ตามเอกสารของ Chandra (1991) และ Sawyer (1986) [5], [6] จัดอยู่ใน

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3