Proceeding2562
1121 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ปลิงน้้าจืดแต่ละชนิดจะมีลักษณะที่แตกต่างกัน คือ Placobdella sp.1 และ Hemiclepsis marginata asiatica ไม่มี Ovary ยื่นยาวลงมาเป็นเส้นขนาดใหญ่ ซึ่งแตกต่างจาก Placobdella sp.2, B. mahabiri และ H. bhatiai ที่มี Ovary ยื่นยาวลงมาเป็นเส้นยาวขนาดใหญ่ จ้านวน 1 ถึง 2 เส้น สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน อีกทั้งรูปร่าง ของ Testisacs ใน Placobdella sp.1 มีลักษณะเป็นพูขนาดเล็ก ซึ่งแตกต่างจาก Placobdella sp.2, B. mahabiri , H . ( m .) asiatica และ H. bhatiai มีลักษณะเป็นพูยาวขนาดใหญ่ อีกทั้ง Siddalli et al . (2004) ได้อธิบายลักษณะของ Genus ต่างๆ ที่อยู่ใน Family Glossiphoniidae คือ Genus Placobdella มี Eyes spot 1 คู่ อยู่ใกล้กันหรือเชื่อมติดกัน Genus Batracobdella และ Genus Hemiclepsis มี Eyes spot 2-3 คู่ จะมี Chitinoid plaque (Scute) และ Nuchal gland ที่เป็นอวัยวะช่วยใน การสืบพันธุ์ของปลิง โดยจะอยู่ทางด้านหลังของล้าตัว [7] ผลจากการทดสอบทางสถิติจ้านวนทั้งหมดของปลิงน้้าจืดที่พบในตัวอย่างปูนาเพศผู้ และตัวอย่างปูนาเพศเมีย จ้านวน 768 ตัว และ 801 ตัว ตามล้าดับ ผลลัพธ์จากการประมวลผลแสดงว่าค่า Asymp.Sig. เท่ากับ 0.405 ซึ่งมีค่ามากกว่า 0.05 (p>0.05) แสดงว่าจ้านวนปลิงน้้าจืดที่พบในตัวอย่างปูนาเพศผู้ และตัวอย่างปูนาเพศเมียไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยส้าคัญ และเมื่อน้าจ้านวนปลิงน้้าจืด ในการศึกษาพบปลิงน้้าจืดในปูนาส่วนใหญ่พบว่าปลิงน้้าจืดจะเกาะอยู่บริเวณใต้กระดอง (Carapace) รวมถึงมีการ คืบคลานออกมานอกตัวปู และบริเวณพื้นล่างของถุงพลาสติกที่บรรจุปู ในการศึกษาครั้งนี้พบปลิงน้้าจืดในตัวอย่างปูนา 62 ตัว จากตัวอย่างปูนาเพศผู้และเพศเมียทั้งหมด 64 ตัว คิดค่าความชุกรวม (%prevalence) เท่ากับ 96.88% ซึ่งสูงกว่าการศึกษา ของจิตติกานต์ (2552) ที่ท้าการศึกษาในปูนา ( E. dugasti ) ในล้าน้้าปิงห่าง ต้าบลอุโมงค์ อ้าเภอเมือง จังหวัดล้าพูน พบปลิงน้้า จืดในตัวอย่างปูนา 28 ตัว จากตัวอย่างปูนาทั้งหมด 31 ตัว คิดค่าความชุกรวม (%prevalence) ได้เท่ากับ 90.32% และจัด จ้าแนกตามลักษณะทางสัณฐานวิทยา (Morphology) จัดอยู่ใน Family Glossiphoniidae ซึ่งจัดจ้าแนกได้ 2 Genus คือ Genus Helobdella และ Genus Glossiphonia [8] อีกทั้งการศึกษาของ Dvoretsky (2008) ที่ตรวจพบปลิง Johanssonia arctica ในปู Paralithodes camtschaticus โดยมีค่าความชุกเท่ากับ 62.50% และส้าหรับปู Lithodes maia ไม่พบการ เกาะของปลิง [9] นอกจากนี้ Hutton and Sogandares (1959) ศึกษาสาเหตุการตายที่เกิดมาจากปลิง Myzobdella lugubris ในปู Blue Crab ( Caliinectes sapidus (Rathbun)) ได้รายงานว่าพบปลิงที่เกาะได้มากกว่าครึ่งจากจ้านวนปู ทั้งหมด และต้าแหน่งที่ตรวจพบปลิงอยู่บริเวณใต้กระดองใกล้กับส่วนขา ซึ่งทางด้านหลังของกระดองปูในบางตัวจะถูกเจาะเป็น รูขนาดใหญ่เกิดเป็นบาดแผล ท้าให้มีการติดเชื้อและก่อให้เกิดโรคในปูได้ [10] ซึ่งผลจากการศึกษาครั้งนี้พบการติดเชื้อโปรโตซัว Trypanosoma sp. ในปูนาเพศผู้จ้านวน 1 ตัว นอกจากนี้ Hemmingsen et al . (2005) ศึกษาถึงความสัมพันธ์ของปู ปลิง และโปรโตซัว Trypanosoma sp. โดยท้าการศึกษาในปู Red king crab ( Paralithodes camtschaticus ) ได้รายงานว่า ตรวจพบปลิง Johanssonia arctica และพบไข่ของปลิงเกาะอยู่ทางด้านล่างของกระดองปูโดยการศึกษาข้างต้นเป็นการศึกษา และส้ารวจพบในปูทะเล ( Paralithodes camtschaticus และ Caliinectes sapidus ) ที่มีการตรวจพบปลิงจ้านวนมาก [11] เช่นเดียวกันกับการส้ารวจครั้งนี้ โดยต้าแหน่งที่มีการตรวจพบและค่าความชุกที่สูงมีความสอดคล้องกันเป็นอย่างมาก สรุปผลการวิจัย จากการศึกษาครั้งนี้พบว่าตัวอย่างปูนาเพศผู้ และตัวอย่างปูนาเพศเมียมีอัตราการติดเชื้อไม่แตกต่างกัน ซึ่งสามารถ สรุปได้ว่าเพศไม่มีผลต่ออัตราการติดเชื่อ โดยสาเหตุของการที่ปูนามีค่าความชุกสูงนั้น อาจเนื่องมาจากความสัมพันธ์ของ ลักษณะพื้นที่ของที่อยู่อาศัย โดยปกติปลิงน้้าจืดทั้ง 3 Genus (Genus Placobdella , Genus Batracobdella และ Genus Hemiclepsis ) ที่พบในการศึกษาครั้งนี้จะอาศัยอยู่บริเวณพื้นท้องน้้าที่เป็นลักษณะเป็นโคลนหรือทราย และการด้ารงชีพของ ปูนาจะเดินอยู่บริเวณใกล้พื้นโคลนหรือริมฝั่ง ท้าให้มีโอกาสในการเกาะของปลิงน้้าจืดนั้นมีสูงมาก อีกทั้งลักษณะทางสรีรวิทยา ของปูนาที่มีกระดองขนาดใหญ่รวมทั้งลักษณะขาที่เป็นปล้อง ท้าให้ปลิงน้้าจืดสามารถเข้าไปยึดเกาะอยู่ภายในตัวปูนาได้ อีกทั้ง
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3