Proceeding2562

1153 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 7 52.72 46.44 46.23 30.37* 0 10 20 30 40 50 60 70 0 100 500 1,000 ค่าเฉลี่ยร้อยละของโปรตีนในน้้าลือดที่ลดลง (%) ระดับวิตามินซีที่เสริมในอาหาร (mg/kg อาหาร) เสริมวิตามินซีในอาหารส่งผลให้ปลานิลมีการเจริญเติบโตเพิ่มขึ้น แต่ไม่มีผลต่อต้นทุนการผลิตในระยะเวลาที่เท่ากัน ซึ่งจะเกิด ผลดีในแง่ของการลดระยะเวลาในการจับขาย สอดคล้องกับงานวิจัยซึ่งท้าการทดลองเลี้ยงปลากดเหลือง ( Mystus nemurus ) ด้วยอาหารเสริมวิตามินซีในอัตราส่วน 0, 50, 100, 200, 500, 1,000 และ 2,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมอาหาร ผลการทดลอง พบว่า ปลากดเหลืองที่ได้รับอาหารเสริมวิตามินซีที่ระดับความเข้มข้น 1,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมอาหาร จะมีการเจริญเติบโต และอัตราการแลกเนื้อดีที่สุด แตกต่างอย่างไม่มีนัยส้าคัญ (P>0.01) กับปลาที่ได้รับอาหารเสริมวิตามินซีที่ระดับความเข้มข้น 500 และ 2,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมอาหาร สรุปได้ว่า อาหารเสริมวิตามินซีที่ระดับความเข้มข้น 500 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม อาหาร เพียงพอต่อการเสริมในอาหารส้าเร็จรูปส้าหรับเลี้ยงปลากดเหลือง [4] 2. ผลของวิตามินซีที่เสริมในอาหารต่อความเครียดของปลานิล 2.1 ผลของวิตามินซีที่เสริมในอาหารต่อปริมาณโปรตีนในน้้าเลือดของปลานิล จากการศึกษาปริมาณโปรตีนในน้้าเลือดของปลานิล หลังผ่านการเลี้ยงภายใต้สภาวะการเลี้ยงแบบหนาแน่น เป็นเวลา 24 ชั่วโมง พบว่า สภาวะการเลี้ยงแบบหนาแน่นมีผลท้าให้ปริมาณโปรตีนในน้้าเลือดลดต่้าลง โดยปลานิลที่ได้รับ อาหารเสริมวิตามินซีที่ระดับ 0, 100, 500 และ 1,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมอาหาร มีร้อยละของปริมาณโปรตีนในน้้าเลือด ลดลง เท่ากับ 52.72±5.08, 46.44±7.47, 46.23±9.53 และ 30.37±5.11 ตามล้าดับ โดยปลานิลที่ได้รับอาหารเสริมวิตามินซี ที่ระดับ 1,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมอาหาร มีร้อยละของปริมาณโปรตีนในน้้าเลือดลดลงต่้าสุด แตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญ (p<0.05) เมื่อเปรียบเทียบกับชุดควบคุม ดังภาพที่ 5 ภาพที่ 5 ค่าเฉลี่ยร้อยละของโปรตีนในน้้าเลือดที่ลดลงของปลานิลที่เลี้ยงด้วยอาหารเสริมวิตามินซีที่ระดับต่างๆ วิตามินซีที่เสริมในอาหารมีส่วนช่วยในการเพิ่มความต้านทานต่อความเครียดในปลานิลได้ เนื่องจากสภาวะเครียด ของปลาสะท้อนถึงความไม่สมดุลระหว่างผลผลิตของปฏิกิริยาออกซิเดชันและตัวขจัดปฏิกิริยาออกซิเดชัน [1] ซึ่งการที่สัตว์อาศัย อยู่ในสภาวะที่ไม่ปกติหรือสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป จะท้าให้เซลล์ในร่างกายเกิดการปรับตัวและท้างานหนักเพื่อท้าให้ร่างกาย สามารถอยู่ในสิ่งแวดล้อมนั้นได้อย่างปกติ ซึ่งกระบวนการเมแทบอลิซึมและการหายใจระดับเซลล์เป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดอนุมูล อิสระ [2] โดยอนุมูลอิสระเหล่านี้จะท้าปฏิกิริยากับโมเลกุลที่ส้าคัญในร่างกาย เช่น ไขมัน โปรตีน ดีเอ็นเอ ท้าให้เกิดความเสียหาย ต่อโมเลกุลดังกล่าว [5] ดังนั้น วิตามินซีซึ่งมีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระประเภทหนึ่งจึงมีส่วนช่วยในการป้องกันหรือก้าจัด สารอนุมูลอิสระได้

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3