Proceeding2562

1154 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 8 สรุปผลการวิจัย การศึกษาผลของการเสริมวิตามินซีในอาหารต่อการเจริญเติบโต อัตราการรอด และความต้านทานต่อความเครียด ภายใต้สภาวะการเลี้ยงแบบหนาแน่นของปลานิล พบว่า ปลานิลที่ได้รับอาหารเสริมวิตามินซีที่ระดับ 500 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม อาหาร มีร้อยละของน้้าหนักที่เพิ่มขึ้น และอัตราการเจริญเติบโตจ้าเพาะสูงสุด อีกทั้งยังมีอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อต่้าสุด นอกจากนี้การเสริมวิตามินซีในอาหารยังมีส่วนช่วยในการต้านทานต่อความเครียดในปลานิลได้ โดยที่ปลานิลที่ได้รับอาหาร เสริมวิตามินซีที่ระดับ 1,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมอาหาร มีร้อยละของปริมาณโปรตีนในน้้าเลือดลดลงต่้าสุดเมื่ออยู่ภายใต้ สภาวะเครียดจากความหนาแน่นของการเลี้ยงที่เพิ่มขึ้นแบบเฉียบพลันเป็นเวลา 24 ชั่วโมง เนื่องจากอาหารเสริมวิตามินซีที่ระดับ 500 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมอาหาร ส่งผลให้ปลานิลมีการเจริญเติบโตสูงสุด และมีปริมาณการลดลงของโปรตีนในน้้าเลือดไม่แตกต่างกับปลานิลที่ได้รับอาหารเสริมวิตามินซีที่ระดับ 1,000 มิลลิกรัมต่อ กิโลกรัมอาหาร จึงสรุปได้ว่า ควรเสริมวิตามินซีในอาหารเลี้ยงปลานิลที่ระดับ 500 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมอาหาร เพื่อช่วยเพิ่มการ เจริญเติบโต และความต้านทานต่อความเครียดที่เกิดจากจากสภาวะการเลี้ยงที่หนาแน่นขึ้น กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้ส้าเร็จลุล่วงได้ด้วยดี เนื่องจากได้รับความกรุณาจาก สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์พื้นฐาน คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ที่ให้การเอื้อเฟื้อด้านวัสดุ อุปกรณ์และสารเคมีในการท้างานวิจัย และขอขอบคุณ คุณอรรถพร บัวชื่น ที่กรุณาชี้แนะแนวทางในการแก้ปัญหา และให้ค้าปรึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ จนงานวิจัยนี้ ส้าเร็จสมบูรณ์ เอกสารอ้างอิง [1] Winston, G.W. (1991).“Oxidants and antioxidants in aquatic animals,” Comp Biochem Physiol . 100, 173 - 176. [2] วรพล เองวานิช. (2550). “กลไกการสร้างและท้าลายอนุมูลอิสระกลุ่มออกซิเจน,” วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม . 26 (3), 294 - 301. [3] Fracalossi, D.M., Allen, M.E., Yuyama, L.K. and Oftedal, O.T. (2001). “Ascorbic acid Biosynthesis Amazonian fishes,” Aquaculture . 192 (no.), 321 - 332. [4] วุฒิพร พรหมขุนทอง. (2539). “ผลของวิตามินซีระดับต่างๆ ต่อการเจริญเติบโตอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อและ อัตราการรอดตายของปลากดเหลือง ( Mystus nemurus ),” วารสารสงขลานครินทร์ วทท . 18 (4), 413 - 420. [5] ศรีวัฒนา ทรงจิตสมบูรณ์, ปาจรีย์ อับดุลลากาซิม, และ สุรัตน์ โคมินทร์. (2548). “สารต้านอนุมูลอิสระจ้าเป็นต่อร่างกาย อย่างไร,” นิตยสารหมอชาวบ้าน . 316.

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3