Proceeding2562

1155 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน การเลี้ยงกุ้งเครย์ฟิชด้วยอาหารที่แตกต่างกัน สุรภี ประชุมพล 1* จงดี ศรีนพรัตน์วัฒน 2 และจามรี เครือหงษ์ 3 บทคัดย่อ บ ทน�ำ : กุ้งเครย์ฟิชเป็นกุ้งสวยงามชนิดหนึ่งที่ได้รับความนิยม เนื่องจากมีสีสันสวยงาม และยังสามารถเพาะเลี้ยงเพื่อน�ำมาบริโภค ได้ แต่ยังไม่มีข้อมูลที่แน่ชัดว่าใช้อาหารชนิดใดที่สามารถท�ำให้กุ้งดังกล่าวสามารถเจริญเติบโตได้ดี และยังเป็นสัตว์น�้ำสีสันสวยงามแต่ เมื่อเลี้ยงไปนานสีจะซีดจางลง เนื่องจากขาดสารสีกลุ่มแคโรทีนอยด์ วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาอาหารที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย และคุณภาพสีของของกุ้งเครย์ฟิช วิธีการศึกษา : งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการเลี้ยงกุ้งเครย์ฟิชด้วยอาหารที่ต่างกัน 4 ชนิด คือ อาหารส�ำเร็จรูป ไรน�้ำนางฟ้าไทยสด ไร น�้ำนางฟ้าไทยแช่แข็ง และกุ้งฝอย เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ ท�ำการวัดการเจริญเติบโต และวัดการเปลี่ยนแปลงสี ด้วยเครื่องวัดสี (chromameter) ระบบ CIE L*a*b* น�ำข้อมูลที่มาวิเคราะห์หาความแตกต่างทางสถิติ โดยใช้วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวน เปรียบ เทียบค่าเฉลี่ยที่ความเชื่อมั่นร้อยละ 95 โดยโปรแกรมส�ำเร็จรูป ผลการศึกษา : พบว่า การเจริญเติบโตของกุ้งเครย์ฟิชที่เลี้ยงด้วยอาหารที่ต่างกัน คือ อาหารเม็ดส�ำเร็จรูป ไรน�้ำนางฟ้าไทยสด ไรน�้ำ นางฟ้าไทยแช่แข็ง และกุ้งฝอย เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ กุ้งเครย์ฟิชที่เลี้ยงด้วยไรน�้ำนางฟ้าสดส่งผลต่อ น�้ำหนักเพิ่มเฉลี่ยต่อวัน และอัตราการเจริญเติบโตจ�ำเพาะ (P<0.05) และไรน�้ำนางฟ้าไทยสดส่งผลต่อค่าสีแดง (a*) ซึ่งมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติ (P<0.05) กับอาหารส�ำเร็จรูป วิจารณ์และสรุป : การเลี้ยงกุ้งเครย์ฟิชด้วยไรน�้ำนางฟ้าไทยสดสามารถท�ำให้การเจริญเติบโตมีแนวโน้มที่ดีและส่งมีผลต่อค่าสีแดง (a*) ค�ำส�ำคัญ : เครย์ฟิช ไรน�้ำนางฟ้าไทย การเจริญเติบโต สี 1 อาจารย์, สาขาเกษตรศาสตร์ (เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ) คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ 60000 2 ผศ.ดร., สาขาเกษตรศาสตร์ (เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ) คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ 60000 3 ผศ., สาขาเกษตรศาสตร์ (เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ) คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ 60000 Lecturer., Department of Agricultural, Faculty of Agricultural Technology and Industrial Technology, Nakhon Sawan Rajabhat Univer- sity 60000, Thailand 2 Assist. Prof., Department of Agricultural, Faculty of Agricultural Technology and Industrial Technology, Nakhon Sawan Rajabhat Uni- versity 60000, Thailand 3 Assist. Prof., Department of Agricultural, Faculty of Agricultural Technology and Industrial Technology, Nakhon Sawan Rajabhat Uni- versity 60000, Thailand * Corresponding author: Tel.: 089-7933636. E-mail address: pee-nine@hotmail.com .

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3