Proceeding2562
1246 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 5 มีลักษณะเปนแผนเรียบไมมีฟองอากาศเหมือนการผสมกับน้ํายาง และประสิทธิภาพในการกันรังสีไมแตกตางกันเปนนัยสําคัญ ดังนั้นการผสมตะกั่วออกไซดในสภาวะที่เปนน้ํายางและเปนยางแหงมีขอดีขอเสียที่แตกตางกันดังกลาว รูปที่ 1 ปริมาณรังสีปฐมภูมิที่วัดไดเมื่อกําหนดความตางศักดิ์หลอดฉายรังสี 80, 90, 100 และ 110 kVp ของตัวอยางยางผสมตะกั่ว ออกไซดสีแดงที่ปริมาณตาง ๆ และไทรอยดซิลล (Appron) เมื่อความหนาของตัวอยางเทากับ 1.03 (บนซาย) และ 2.06 (บนขวา) 3.12 (ลางซาย) และ 4.17 (ลางขวา) มม. ตามลําดับ เมื่อทําการทดสอบฉายรังสีปฐมภูมิผานชิ้นตัวอยางยางวัลคาไนซที่กําหนดใหกระแสของหลอดฉายรังสีเทากับ 100 mA เวลาฉายรังสี 20 ms แปรปริมาณรังสีโดยปรับคาความตางศักยของหลอดฉายรังสีเปน 80, 90, 100 และ110 kVp ซึ่งเปนคาที่ใชใน ปฏิบัติการทางรังสีวิทยาไดผลตามรูปที่ 1 เมื่อไมมีตัวอยางยางกั้นจะเห็นวารังสีที่วัดไดที่ 110 และ 80 kVp มีคาเปน 117.9 และ 88.5 µ Gy ตามลําดับ แตเมื่อมีตัวอยางยางวัลคาไนซปองกันรังสีคั่นไว พบวาเมื่อผสมตะกั่วออกไซดสีแดงลงในยางธรรมชาติเพิ่มขึ้น ปริมาณรังสีที่วัดไดจะมีคานอยลงอยางมากเมื่อผสมตะกั่วออกไซดลงในยางตามธรรมชาติในปริมาณเชนที่ 300 phr และเห็น แนวโนมวารังสีที่วัดไดมีปริมาณลดลงตามปริมาณของตะกั่วที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากตะกั่วมีเลขเชิงอะตอม (Atomic number) ที่สูงมาก แมจะอยูในรูปของสารประกอบออกไซดก็ยังมีประสิทธิภาพในการกันรังสีที่ดี ตะกั่วออกไซดสามารถเขากับยางธรรมชาติไดดีและ กระจายตัวในยางธรรมชาติไดอยางสม่ําเสมอจึงทําใหการกันรังสีสม่ําเสมอทั่วชิ้นยางตัวอยางยางวัลคาไนซ การเพิ่มปริมาณตะกั่ว ออกไซดในยางธรรมชาติทําใหความหนาแนนของผงตะกั่วออกไซดมีมากขึ้นมีผลทําใหชวงวางระหวางอนุภาคของตะกั่วออกไซดสี แดงที่กระจายตัวอยูในยางลดลงจึงสามารถกันรังสีไดมากขึ้น ขณะเดียวกันเมื่อเพี่มความหนาของตัวอยางจะทําใหทางเดินของรังสี เพิ่มและคดเคี้ยวเพิ่มขึ้นเปนผลใหสามารถดูดกลืนและกั้นรังสีไดมากขึ้นเชนกัน เมื่อพิจารณาอุปกรณในหองปฏิบัติการรังสีเทคนิค เชน ไทรอยดซิลล พบวาสามารถกันรังสีที่ 110 kVp จาก 117.9 µ Gy ใหเหลือเพียง 10.6 µ Gy และที่ 80 kVp จาก 88.5 µ Gy ลง
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3