Proceeding2562

1247 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 6 มาเหลือเพียง 1.6 µ Gy ซึ่งใชเปนตัวกําหนดในการพัฒนาสมบัติการกันรังสีเอกซเรยของยางธรรมชาติผสมตะกั่วออกไซดสีแดงให ประสิทธิภาพในการดูดกลืนและกันรังสีใหเทียบเทากับวัสดุมาตรฐานซึ่งจากผลการทดลองรูปที่ 1 แสดงใหเห็นวาการเพิ่มปริมาณ ตะกั่วออกไซดสีแดงและการเพิ่มความหนาของตัวอยางยางสามารถพัฒนาใหเทียบเทากับอุปกรณปองกันรังสีอางอิง รูปที่ 2 ปริมาณการดูดกลืนและขวางกั้นรังสีเอ็กซเรยของยางวัลคาไนซเมื่อใชตะกั่วออกไซดที่ 300, 400 และ 500 phr และ อุปกรณปองกันรังสีเมื่อกําหนดคาความตางศักยของหลอดฉายรังสีที่ 80 (บน) และ 110 (ลาง) kVp )

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3