Proceeding2562

1248 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 7 หากพิจารณาประสิทธิภาพของการกั้นรังสีปฐมภูมิของตัวอยางยางยางธรรมชาติผสมตะกั่วออกไซดสีแดงที่ผานการทํา การวัลคาไนซเมื่อกําหนดใหปริมาณตะกั่วออกไซดในตัวอยางยางวัลคาไนซดคงที่เปน 300. 400, และ 500 phr แตมีความหนา แตกตางกัน พบวา ตัวอยางยางวัลคาไนซทั้งหมดสามารถทําใหมีประสิทธิภาพในการปองกันรังสีเทียบเทากับอุปกรณปองกันรังสีใน หองปฏิบัติการที่ใชเปรียบเทียบ ซึ่งทําไดโดยเพิ่มความหนา ดังแสดงในรูปที่ 2 ซึ่งอุปกรณปองกันรังสีในหองปฏิบัติการทางรังสีวิทยา ที่มีมาตรฐานการปองกันรังสีเอกซเรยเทียบเทากับ 0.5 mmPb สามารถลดทอนปริมาณรังสีเมื่อฉายรังสีเอกซเรยขณะที่หลอดฉาย รังสีมีความตางศักดิ์ที่ 110 kVp ได 93.38% ขณะที่ยางวัลคาไนซที่มีตะกั่วออกไซดผสม 300 phr มีความหนา 4.23 มม. สามารถ ลดทอนปริมาณรังสีได 94.30% ยางวัลคาไนซที่มีตะกั่วออกไซดผสม 400 phr มีความหนา 3.05 มม. สามารถลดทอนปริมาณรังสี ได 99.40% และยางวัลคาไนซที่มีตะกั่วออกไซดผสม 500 phr มีความหนาเพียง 2.08 มม. ก็สามารถลดทอนปริมาณรังสีไดถึง 93.66% สรุปผลการวิจัย จากการทดลองนําตะกั่วออกไซดผสมกับยางธรรมชาติเพื่อพัฒนาเปนผลิตภัณฑจากยางธรรมชาติในการปองกันรังสี เอกซเรยทั้งสองวิธีใหผลการปองกันรังสีปฐมภูมิใกลเคียงกัน การผสมตะกั่วออกไซดกับน้ํายางธรรมชาติมีขอดีคือลดการฟุงกระจาย ของตะกั่วออกไซดในอากาศ แตตองใชเวลานานในการรอใหยางแหงปราศจากความชื้น สวนการผสมในลักษณะยางแหง สามารถ ลดการเกิดฟองอากาศในเนื้อยางได ใชเวลาในการผสมรวดเร็ว ถาผสมโดยผูเชี่ยวชาญและมีอุปกรณปองกันจะสามารถลดการฟุง กระจายและอันตรายจากสารตะกั่วออกไซดได ตะกั่วออกไซดปริมาณเพิ่มขึ้นสามารถดูดกลืนและกันรังสีไดเพิ่มขึ้น และเมื่อความ หนาของยางวัลคาไนซเพิ่มขึ้นความสามารถในการดูดกลืนและกันรังสีนั้นเพิ่มขึ้นดวย จึงมีแนวโนมวาหากใหปริมาณตะกั่วออกไซดที่ มากขึ้นในการผสมกับยางธรรมชาติและใหความหนาที่เพิ่มขึ้นอาจจะสามารถดูดกลืนรังสีเอ็กซเรย ไดเทียบเทากับวัสดุปองกันรังสี ตามมาตรฐานสากล โดยที่ยางวัลคาไนซตัวอยางที่ผสมตะกั่วออกไซดสีแดง 500 phr ซึ่งมีความหนา 2.08 มม. สามารถกันรังสีไดถึง 93.66% กิตติกรรมประกาศ คณะผูวิจัยขอขอบพระคุณบุคลากรและภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ที่เอื้อเฟอ สถานที่ทําวิจัยและอนุญาตใหใชเครื่องฉายรังสีในหองปฏิบัติการรังสีวิทยา โรงพยาบาลสงขลานครินทร ขอขอบพระคุณะบุคคลากร และภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีวัสดุในการสนับสนุนการทําวิจัยและชวยประสานงานในการทําวิจัย เอกสารอางอิง [1] Future Xray: All about Protection. (2016). Products & Services [online]. 2019 [cited 2019 Jan 20]; Available from: http://futurexray.com/products-services/ [2] Safety and Health at Work Promotion Association (Thailand). (2018) [online]. 2018 [cited 2018 Nov 25]; Available from: http://www.shawpat.or.th/index.php?option=com_content&view [3] Abdel-Aziz MM, Gwaily SE. (1997) “Thermal and Mechanical Properties of Styrene-Butadiene rubber/Lead oxide Composites as Gamma-Radiation Shields”, Polymer Degradation and Stability 55, 269-274. [4] Madani M, Abd-El Hafez AI. (2010) “X-ray Shielding Ability and Electrophysical Characteristics of Rubber Vulcanizates: Effect of State-of-Mix”, Particle Physics Insights 3, 9-22. [4] Al-Maamori MH, Al–Bodairy OH, Saleh NA. (2012) “Effect of PbO with Rubber Composite on Transmission of (X-Ray)”, Natural and Applied Sciences, Part-I 3, 113-119.

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3