Proceeding2562

1252 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 4 ผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย ผลสมบัติทางกายภาพของสารเชิงซ้อนทองแดง สภาวะที่เหมาะสมในการเตรียมและการสังเคราะห์สารเชิงซ้อนทองแดงกับกรดทาร์ทาริก 1 : 2 ใช้น้าเป็นตัวทา ละลายซึ่งทาที่อุณหภูมิห้อง ที่ pH เท่ากับ 3 (ถ้า pH สูงกว่า 3 ได้ตะกอนขุ่น ไม่บริสุทธิ์) การเตรียมด้วยวิธีนี้จะใช้สารตั้งต้นที่ น้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับสารเชิงซ้อนที่คล้ายคลึงกัน [5] ในสภาวะที่เหมาะสมนี้ ได้ผลึกมีสีฟ้า มีเหลี่ยม ด้าน และมุมชัดเจน ลักษณะเป็นแท่ง ดังภาพที่ 1 ได้ผลผลิตร้อยละ เท่ากับ 70 เปอร์เซ็นต์ เมื่อนาไปทดสอบ ความสามารถในการละลาย พบว่าไม่สามารถละลายในตัวทาสารละลายอินทรีย์ แต่ สามารถละลายได้ดีในตัวทาละลายไดเมทิลซัลฟอกไซด์เท่านั้น ภาพที่ 1 ลักษณะทางกายภาพของผลึกสารเชิงซ้อน [Cu 2 (C 4 H 4 O 6 ) 2 (H 2 O) 2 ] n ·4H 2 O ผลการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์บนผลึกเดี่ยวของสารเชิงซ้อน ผลึกสีฟ้าของสารเชิงซ้อนทองแดง มีระบบโครงสร้างผลึกเป็นแบบมอนอคลินิก เซลล์พารามิเตอร์ คือ a=8.3728(4) Å b=8.7629(4) c=12.1529(6) α =90 β =104.539 γ =90 มีหมู่ปริภูมิแบบ P2 1 โดยข้อมูลของผลึก(บางส่วน) แสดงดังไว้ ในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ข้อมูลผลึกของสารเชิงซ้อน [Cu 2 (C 4 H 4 O 6 ) 2 (H 2 O) 2 ] n ·4H 2 O พารามิเตอร์ ข้อมูล Empirical formula Cu 2 C 8 H 16 O 18 Wavelength 0.71073 Å Formula weight 527.29 Crystal System Monoclinic Space group P2 1 Unit cell dimensions a=8.3728(4) Å α =90 b=8.7629(4) Å β =104.539 c=12.1529(6) Å γ =90 Volume 863.10(7) Å 3 Z 2 Density (calculated) 2.029 g cm -3 Crystal size 0.100 x 0.090 x 0.090 mm 3 Goodness-of-fit on F 1.074 Final R indices [I>2 σ (I)] R 1 = 0.0492, wR 2 = 0.1239 R indices (all data) R 1 = 0.0585, wR 2 = 0.1294

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3