Proceeding2562

1253 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 5 โครงสร้างของสารเชิงซ้อนประกอบด้วยไอออนทองแดง 2 ไอออน ลิแกนด์ทาร์ทาเรต จานวน 2 ลิแกนด์ น้าที่สร้าง พันธะกับไอออนทองแดง 2 โมเลกุล และน้าอิสระ 4 โมเลกุล ทาให้มีสูตรโครงสร้างคือ [Cu 2 (C 4 H 4 O 6 ) 2 (H 2 O) 2 ] n ·4H 2 O (ดังภาพ ที่ 2) เนื่องจากสารเชิงซ้อนประกอบไอออนทองแดงมี 2 ไอออนจึงจัดเป็นโมเลกุลไดนิวเคลียร์ ภาพที่ 2 โครงสร้างของสารเชิงซ้อน [Cu 2 (C 4 H 4 O 6 ) 2 (H 2 O) 2 ] n ·4H 2 O สารเชิงซ้อน [Cu 2 (C 4 H 4 O 6 ) 2 (H 2 O) 2 ] n ·4H 2 O ประกอบด้วยโมเลกุลหลักคือ [Cu 2 (C 4 H 2 O 6 ) 2 (H 2 O) 2 ] และ โมเลกุลของ น้าอิสระ คือ 4H 2 O ที่ไม่เกิดพันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์กับไอออนโลหะทองแดง โมเลกุลหลัก [Cu 2 (C 4 H 2 O 6 ) 2 (H 2 O) 2 ] เกิดจาก โลหะทองแดงเกิดพันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์กับลิแกนด์อินทรีย์คือลิแกนด์ทาร์ทาเรต เกิดเป็นสารโลหะอินทรีย์ที่สามารถ สร้างโครงข่ายได้ นอกจากนี้ สารโลหะอินทรีย์ของโมเลกุลหลัก [Cu 2 (C 4 H 2 O 6 ) 2 (H 2 O) 2 ] สารทาหน้าที่เป็นมอนอเมอร์ (monomer) ที่สามารถเชื่อมต่อกันระหว่างอะตอมออกซิเจนของทาร์ทาเรต กับอะตอมออกซิเจนของทาร์ทาเรตของโมเลกุล ใกล้เคียง ผ่านทางอะตอม O7 และ O17 เกิดเป็นสารเชิงซ้อนพอลิเมอร์ (polymeric complex) หรือ [Cu 2 (C 4 H 4 O 6 ) 2 (H 2 O) 2 ] n จนกลายเป็นโครงข่าย ได้ดังภาพที่ 3

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3