Proceeding2562
1255 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 7 ภาพที่ 3 สเปกตรัมสัญญาณหมู่ฟังก์ชันของสารเชิงซ้อน [Cu 2 (C 4 H 4 O 6 ) 2 (H 2 O) 2 ] n ·4H 2 O ตารางที่ 3 สัญญาณหมู่ฟังก์ชันที่สาคัญของสารเชิงซ้อน [Cu 2 (C 4 H 4 O 6 ) 2 (H 2 O) 2 ] n ·4H 2 O และสารที่เกี่ยวข้อง [Cu 2 (C 4 H 6 O 6 ) 2 (H 2 O) 2 ]·4H 2 O Frequency, cm -1 Bond Functional group 3750-2750 (s,br) 3640–3610 (s, sh) O–H stretch, free hydroxyl alcohol, phenol 3417(s,br) 3300–2500 (m) O–H stretch carboxylic acid 3093(s) 3100–3000 (s) C–H stretch aromatic 2851(w) 3000–2700 (w) C–H stretch aliphatic 1625(s) 1760–1658 (s) C=O asym. stretch carboxylic acid 1363(m) 1375–1300 (m) C=O sym. stretch carboxylic acid 1200(s), 1156(s) 1220–1310 (s) C–O-C stretch carboxylic acid 1092 (s), 996 (s) 1220–980 (s) C–O stretch carboxylic acid 962 (m) 970–910 (m) O–H bend carboxylic acid 722 (m) 725–720 (m) C–H rock aliphatic 660 (m), 617 (m), 586 (m) 950–500 (m) Metal -O Metal –OH 2 488 (w), 449(w) 500–350 (w) Metal -O Metal –OCO - หมายเหตุ br= broad ; m=medium; s=strong; sh=shoulder; w=weak; v=stretching, =bending ผลการดูดกลืนแสงในช่วงอัลตราไวโอเลตและวิสิเบิล สเปกตรัมของสารเชิงซ้อน[Cu 2 (C 4 H 4 O 6 ) 2 (H 2 O) 2 ] n ·4H 2 O แสดงไว้ในภาพที่ 4 โดยสารเชิงซ้อนสามารถดูดกลืนแสง ในช่วงอัลตราไวโอเลตที่ความยาวคลื่นสูงสุดเท่ากับ 280 nm มีค่าแอบซอร์แบนซ์ เท่ากับ 2.318 เป็นการเกิดการแทรนซิชัน จาก π → π * ของกรดทาร์ทาริก ส่วนการดูดกลืนแสงในช่วงวิสิเบิล เกิดการแทรนซิชันแบบ d-d ของไอออนโลหะทองแดง มีค่า ความยาวคลื่นสูงสุดเท่ากับ 603 nm แสดงว่าที่ความยาวคลื่น 550-650 nm สีที่ถูกดูดกลืนคือแสงสีส้ม ส่วนสีที่เห็นจะเป็นสี ฟ้า [8] ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยนี้ เมื่อสารเชิงซ้อนละลายในตัวทาละลายได้สารละลายสีฟ้า ซึ่งแตกต่างจาก [Cu 2 (tartaric) 2 (H 2 O) 2 ] n ·4H 2 O ที่ระบุการดูดกลืนสูงสุดที่ 730 nm [6]
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3