Proceeding2562

1265 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 8 สาหรับตรวจวัดสารโปรเมทาซีนที่พัฒนาขึน สามารถนามาใช้ในการตรวจวิเคราะห์สารโปรเมทาซีนในเชิงคุณภาพ และเชิง กึ่งปริมาณได้ ซึ่งเป็นชุดทดสอบที่ใช้งานง่าย พกพาสะดวก และสามารถตรวจวิเคราะห์ได้รวดเร็ว ตารางที่ 2 การวิเคราะห์สารโปรเมทาซีนในตัวอย่างเครื่องดื่มลีน ค็อกเทล (n=3) ตัวอย่างที่ ปริมาณสารโปรเมทาซีน (mg L -1 ) ร้อยละการได้กลับคืน (  SD) 1 37.5 99.9  3.3 2 38.0 90.8  6.9 3 35.1 86.6  4.5 สรุปผลการวิจัย จากผลการวิจัยสามารถพัฒนาชุดทดสอบสารโปรเมทาซีนที่มีการใช้ในทางที่ผิดในตัวอย่างเครื่องดื่มลีน ค็อกเทล โดยอาศัยการเกิดปฏิกริยาออกซิเดชันระหว่างสารโปรเมทาซีนกับโปรตัสเซียมเปอร์ซัลเฟต และตรวจวัดสัญญาณด้วย เครื่องสเปกโตรโฟโตมิเตอร์แบบพกพาวิธีที่พัฒนาขึนให้ค่าความเป็นเส้นตรงในช่วงความเข้มข้น 25–400 mg L -1 มี ขีดจากัดการตรวจวัด เท่ากับ 5.0 mg L -1 ขีดจากัดการตรวจวัดเชิงปริมาณ เท่ากับ 35.6 mg L -1 มีค่าความเบี่ยงเบน มาตรฐานสัมพัทธ์ในช่วง 0.2–4.8% สามารถตรวจวิเคราะห์เชิงคุณภาพ และเชิงกึ่งปริมาณสารโปรเมทาซีนในตัวอย่าง เครื่องดื่มลีน ค็อกเทล วิธีที่พัฒนาขึนเป็นชุดทดสอบที่ใช้งานง่าย ราคาถูก พกพาสะดวก มีความถูกต้อง แม่นยา และมี ความจาเพาะเจาะจงในการตรวจวัดสารโปรเมทาซีนในตัวอย่างเครื่องดื่มลีน ค็อกเทล สามารถนา ไปประยุกต์ใช้ใน หน่วยงานทางด้านนิติวิทยาศาสตร์ได้ กิตติกรรมประกาศ ผลงานวิจัยนีได้รับการสนับสนุนจากกองทุนวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สัญญาเลขที่ 1-2560-02-008 ผู้ วิ จั ย ข อ ข อ บ คุณ ภ าค วิ ช า วิท ย าศ าส ต ร์ ป ร ะ ยุ ก ต์ คณ ะ วิท ย าศ า ส ต ร์ บัณ ฑิ ต วิท ย าลั ย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่ให้ความอนุเคราะห์ด้านอุปกรณ์ สาร เคมีและสถานที่ในการทาการศึกษาครังนี และขอขอบคุณบริษัท ไทยยูนีคจากัด ร่วมกับสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และบริษัท USHIO INC. ที่ให้ความอนุเคราะห์เครื่อง PiCOEXPLORER เอกสารอ้างอิง [1] Agnich, L. E., Stogner, J. M., Miller, B. L., & Marcum, C. D. (2013). Purple drank prevalence and characteristics of misusers of codeine cough syrup mixtures. Addict Behav, 38(9), 2445-2449. [2] AOAC Official Methods of Analysis.(2016). Guidelines for standard method performance requirements. AOAC international, appendix F: 1-18. [3] Karpinska, J., Starczewska, B., Puzanowska-Tarasiewicz, H. (1996).Analytical Properties of 2 and 10- Disubstituted Phenothiazine Derivatives . Analytical sciences, 12(2):161-170. 41. [4] Lynch, K. L., Shapiro, B. J., Coffa, D., Novak, S. P., &Kral, A. H. (2015). Promethazine use among chronic pain patients. Drug Alcohol Depend , 150, 92-97. [5] Saif, M. J., & Anwar, J. (2005).A new spectrophotometric method for the determination of promethazine-HCl from pure and pharmaceutical preparations. Talanta , 67(5), 869-872.

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3