Proceeding2562
1271 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน รูปที่ 1 แสดงแผนผังการจัดอุปกรณ์การทดลอง การศึกษากระบวนการพลาสมาดิสชาร์จแบบมีไดอิเล็กทริกขวางกันที่ความดันบรรยากาศ เพื่อเปลี่ยนแก๊สมีเทนไปเป็นแก๊ส ไฮโดรเจน ใช้แรงดันไฟฟ้ากระแสสลับจ่ายไปยังห้องพลาสมาที่ 8 kV และความถี่ 25 kHz เก็บตัวอย่างแก๊สจากการทดลองด้วยถุง เก็บตัวอย่างแก๊ส (SKG FlexFoil ® PLUS Sample Bag) ใช้เวลาเก็บตัวอย่างใส่ถุงเก็บตัวอย่างแก๊ส 2 นาที โดยตัวอย่างแก๊สแต่ละ ตัวอย่างเก็บผลซ ้าตัวอย่างละ 3 ครัง น้าตัวอย่างแก๊สไปวิเคราะห์ด้วย Gas Chromatography (GC) ยี่ห้อ Shimadzu รุ่น GC-8A แล้วน้าผลจากการวิเคราะห์ด้วย GC ในแต่ละตัวอย่างมาเฉลี่ยเพื่อตรวจสอบผลลัพธ์การเปลี่ยนของแก๊สมีเทนและผลิตภัณฑ์แก๊ส ไฮโดรเจน ผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย ผลการศึกษาการเปลี่ยนแก๊สมีเทนไปเป็นแก๊สไฮโดรเจนด้วยกระบวนการพลาสมาดิสชาร์จแบบมีไดอิเล็กทริกขวางกันที่ ความดันบรรยากาศ ที่ใช้ศักย์ไฟฟ้าแรงดันสูงกระแสสลับระดับแรงดันไฟฟ้า 8 kV และความถี่ 25 kHz โดยใช้แก๊สมีเทนบริสุทธิ์ 99.999% และแก๊สร่วมในการตังต้น 3 ชนิด ได้แก่ แก๊สอาร์กอน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และอากาศ ที่อัตราการไหล 0.2 L/min น้าตัวอย่างแก๊สไปวิเคราะห์ด้วย GC ได้ผลลัพธ์ของความเข้มข้นแก๊สมีเทนและผลิตภัณฑ์แก๊สไฮโดรเจน ดังแสดงในรูปที่ 2 รูปที่ 2 แสดงความเข้มข้นของมีเทน และผลิตภัณฑ์ไฮโดรเจนจากการวิเคราะห์ด้วย GC Ar, CO 2 , air CH 4 DBD reactor AC High Voltage Power Supply Gas Chromatography CH 4 CH 4 + CO 2 CH 4 +Ar CH 4 +Air ผลิตภัณฑ์ H 2 (%) ความเข้มข้น CH 4 (%)
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3