Proceeding2562

1273 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สรุปผลการวิจัย การศึกษาการเปลี่ยนแก๊สมีเทนไปเป็นไฮโดรเจนด้วยกระบวนการพลาสมาดิสชาร์จแบบมีไดอิเล็กทริกขวางกันที่ความดัน บรรยากาศ จากการป้อนแก๊สมีเทนบริสุทธิ์ และแก๊สมีเทนผสมแก๊สชนิดอื่น อาทิ แก๊สอาร์กอน อากาศ และแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ เข้าสู่ห้องพลาสมาแบบทรงกระบอกแกนร่วม เกิดการเปลี่ยนความเข้มข้นของแก๊สมีเทนหลังจากเกิดปฏิกิริยา ภายในห้องพลาสมาดิสชาร์จ จากความเข้มข้นแก๊สมีเทนตังต้น 99.999% ลดลงเป็น 98.873% ส้าหรับแก๊สมีเทนเพียงอย่างเดียว 68.877% ส้าหรับแก๊สมีเทนผสมกับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 97.813% ส้าหรับแก๊สมีเทนผสมกับแก๊สอาร์กอน และ 64.980% ส้าหรับแก๊สมีเทนผสมกับอากาศ และได้ผลิตภัณฑ์แก๊สไฮโดรเจน 1.547%, 1.057% 0.783% และ 0.763% จากการป้อนแก๊ส มีเทนผสมกับแก๊สอาร์กอน แก๊สมีเทนบริสุทธิ์เพียงอย่างเดียว แก๊สมีเทนผสมกับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และแก๊สมีเทนผสมกับ อากาศ ตามล้าดับ กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ ทุนอุดหนุนการท้าวิทยานิพนธ์ จากบัณฑิตวิทยาลัย และสาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ทักษิณ เอกสารอ้างอิง [1] รัชนีกร วันจันทึก. (2554). ก๊าซไฮโดรเจน: ความคาดหวังเพื่อเป็นแหล่งพลังงานที่ยั่งยืน. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา. 16 (2554) 1: 131-140 [2] นิสิต ตัณฑวิเชฐ. (2553). เทคโนโลยี ผลิตก๊าซไฮโดรเจนที่สะอาดและยั่งยืน. Techno & InnoMag . 36(209), 059 - 062. [3] เจษฎา มิ่งฉาย, สร้อยรัตน์ดา สามโพธิ์ศรี, ลือ เกิดสาย และประวัติ ค้าจีน. (2556). ก๊าซชีวภาพ: พลังงานทางเลือกเพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืน [4] อุษา อ้นทอง วิกาญดา ทองเนือแข็ง และอาภรณ์ ส่งแสง. (2557). การพัฒนาระบบบ้าบัดน ้าเสียและผลิตก๊าซชีวภาพส้าหรับน ้า เสียจากการผลิตยางแผ่นระดับครัวเรือน. การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 24 ประจาปี 2557 , 18. วันที่ 21-24 พฤษภาคม 2557 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี อ้าเภอหาดใหญ่ จังหวัด สงขลา. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ [5] Nguyen, H. H. and Kim, K. (2015). Combination of plasmas and catalytic reactions for CO 2 reforming of CH 4 by dielectric barrier discharge process. Catalysis Today . 256. [6] ธวัฒน์ชัย เทพนวล, ประชิต คงรัตน์, ศุภลักษณ์ อ้าลอย และไกรสร เอียดเนตร. (2552). การออกแบบและสร้างระบบพลาสมา ดิสชาร์จที่ความดันบรรยากาศ เพื่อการประยุกต์ใช้งานด้านสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร : ส้านักงานคณะกรรมการวิจัย แห่งชาติ.

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3