Proceeding2562

1285 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 2.2 การหาอัตราส่วนที่เหมาสม และการเตรียมฟิล์มบาง สารละลายพอลิเมอร์ PVC และ PVA มาผสมที่อัตราส่วน PVA/PVA (CA) ที่ 80/20 w/w กวนผสมจนเป็นเนื้อ เดียวกัน และนาสารละลายผสมระหว่าง CA ผสมกับสารละลาย ZnCl 2 ที่ความเข้มข้นต่างๆ ในอัตราส่วนของ CA/ZnCl 2 ที่ 100/0, 97/3, 95/5 และ 90/10 w/w กวนสารละลายให้เป็นเนื้อเดียวกัน การเตรียมฟิล์มบาง โดยนาสารละลายผสม CA/ZnCl 2 ที่ได้เทลงบนแผ่นกระจกในตู้ควบคุมความชื้นสัมพัทธ์ที่ 50 ± 2% ณ อุณหภูมิห้อง ทาให้เป็นแผ่นเรียบสม่าเสมอด้วยมีดปาด (casting knife) หลังจากนั้นนาสารละลายที่ขึ้นรูป เป็นแผ่นแล้วจุ่มลงในอ่างน้ากลั่นทันที แช่ทิ้งไว้เป็นเวลา 10 นาที จะได้แผ่นฟิล์มบาง CA/ZnCl 2 หลุดออกมาจากแผ่น กระจก ตั้งทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้องจนแผ่นฟิล์มบางแห้ง และทาการอบเพื่อไล่ความชื้นและตัวทาละลายออกที่อุณหภูมิ 60 ºC เป็นเวลา 10 ชั่วโมง หลังจากนั้นนาฟิล์มบางไปทาการทดสอบสมบัติเชิงกลและลักษณะทางสัณฐานวิทยา 3. การทดสอบสมบัติเชิงกลและลักษณะสัณฐานวิทยาของฟิล์มบาง ตรวจสอบสมบัติเชิงกลของฟิล์มบางด้วยเครื่องทดสอบแรงดึง (LLOYD instrument LR10K) โดยตัดชิ้นงาน ทดสอบเป็นรูปดัมเบล (Dumbbell) โดยใช้เครื่องตัดชิ้นทดสอบแบบ Die C ตามมาตรฐาน ASTM D412 แล้ววัดความหนา ด้วยเครื่องวัดความหนา (Thickness meter) โดยใช้ความเร็วในการดึง 50 มิลลิเมตรต่อนาที บันทึกค่าความเค้น ณ จุด ขาด (Stress at break) หรือค่าความทนต่อแรงดึง (Tensile strength) และค่าเปอร์เซ็นต์ระยะยืด ณ จุดขาด (Elongation at break) การคานวณหาความต้านทานต่อแรงดึง (Tensile strength) Tensile strength = A load maximum เมื่อ maximum load คือ แรงดึงสูงสุดที่ทาให้ชิ้นทดสอบขาด (นิวตัน) A คือ พื้นที่หน้าตัดของชิ้นทดสอบขณะยังไม่ยืด (ตารางมิลลิเมตร) การคานวณหาระยะยืด ณ จุดขาด (Elongation at break) Elongation at break = 0L )0L (L 100  เมื่อ L คือ ระยะที่ชิ้นทดสอบสามารถยืดตัวได้จนขาด (มิลลิเมตร) L คือ ระยะกาหนดก่อนทาการทดสอบ (มิลลิเมตร) ตรวจสอบสมบัติลักษณะทางสัณฐานวิทยา (Morphology) เพื่อตรวจสอบพื้นผิวและภาพตัดขวางด้วยกล้อง จุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (Scanning electron microscope, SEM) รุ่น Quanta 450 FEG ประเทศเยอรมนี การดูดซึมน้า (Water absorbance ratio, %) นาตัวอย่างฟิล์มบางขนาด 1x1 ซม. มาแช่ในน้าปราศจากไอออน (Deionized water) ที่เวลาต่างๆ โดยใช้ระดาษทิชชูซับน ้าส่วนเกินออกไปก่อนชั่งน ้าหนัก ชั่งจนกระทั่งน้าหนักชิ้น ตัวอย่างคงที่แล้ว คานวณการดูดซึมน้า ดังสมการต่อไปนี้ เมื่อ W s คือ weight of polymer in swelling state W d คือ weight of polymer in dry state X 100 W d W d W s  Water absorbance ratio (%) =

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3