Proceeding2562

1294 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน รูปที่ 4 ภาพถายระดับจุลภาคของตัวอยาง C4 ดวยเทคนิค SEM และธาตุองคประกอบ (EDS) รูปที่ 5 ภาพถายระดับจุลภาคของตัวอยาง C5 ดวยเทคนิค SEM และธาตุองคประกอบ (EDS) รูปที่ 6 ภาพถายระดับจุลภาคของตัวอยาง C6 ดวยเทคนิค SEM และธาตุองคประกอบ (EDS) รูปที่ 1-6 (ซาย) แสดงภาพถายระดับจุลภาค ของตัวอยาง C1-C6 ตามลําดับ ดวยกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสอง กราด (SEM) เผยใหเห็นอนุภาคขนาดนาโนกระจายอยางสม่ําเสมอที่บริเวณพื้นผิวและภายในไคโตซาน (ตัวอยาง C1-C4) และบาง ตัวอยางถูกหอหุมในแมทริกซของไคโตซาน (ตัวอยาง C5-C6) และจากผลการวิเคราะหธาตุองคประกอบดวย EDS พบวามีธาตุ Zn และ O เปนองคประกอบหลักในอัตราสวนสูงที่สุดในทุกตัวอยางรวมทั้งธาตุ C จากไคโตซานอีกดวย (รูปที่ 1-6 (ขวา)) เฟสโครงสรางผลึกไดรับการวิเคราะหดวยเทคนิคการเลี้ยวเบนรังสีเอกซหรือ XRD (รูปที่ 7-13) พบวาตัวอยางแสดงเฟส ผสมระหวาง hexagonal wurzite ZnO และซิติน (chitin) โดยตัวอยาง C1 และ C2 ซึ่งมีความเขมขนของสารละลาย Zn(CH 3 COO) 2 เทากับ 0.05 M ปรากฏพีคสเปกตรัมคุณลักษณะเฉพาะของ ZnO อยางชัดเจน แตเมื่อความเขมขนของสารละลาย Zn(CH 3 COO) 2 เพิ่มมากขึ้นเปน 0.1 M และ 0.2 M พีคสเปกตรัมการเลี้ยวเบนของ ZnO จะลดลงและไมเดนชัด (ตัวอยาง C3-C6)

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3