Proceeding2562

1296 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ผลการทดสอบประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อรา Aspergillus Niger เมื่อนําตัวอยางไปทาเคลือบผิวผลิตภัณฑจักสานจาก กระจูดพบวาตัวอยาง C5 แสดงคุณสมบัติการตานเชื้อราไดโดดเดนที่สุด โดยสามารถออกฤทธิ์ยับยั้งเชื้อราไดนานกวา 20 วัน เมื่อ เปรียบเทียบกับตัวอยางอื่น ตัวอยางควบคุม (C) และตัวอยางที่ทาเคลือบผิวดวยเคมีภัณฑปองกันเชื้อราตามทองตลาด (C0) ดวย วิธีการ disk diffusion หรือ standard diffusion แสดงดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 เปรียบเทียบผลการทดสอบประสิทธิภาพการยับยั้งเชื้อรา Aspergillus Niger ของสารตัวอยางเคลือบผิวผลิตภัณฑจัก สานจากกระจูดของวันที่ 1, 10 และวันที่ 20 จากบนลงลางตามลําดับ D a y Sample C C0 C1 C2 C3 C4 C5 C6 1 1 0 2 0 สรุปผลการวิจัย งานวิจัยนี้ประสบความสําเร็จในการเตรียม ZnO NPs ที่มีคุณสมบัติเชิงฟงกชันสามารถปองกันเชื้อรา Aspergillus Niger บนผลิตภัณฑจักรสานจากเซลลูโลสในทองถิ่นไดนานกวา 20 วัน อยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง ความเขมขนของสารละลาย Zn(CH 3 COO) 2 และอัตราสวนผสมของสารตั้งตนตอตัวยึดเกาะเปนปจจัยสําคัญตอขนาดอนุภาคนาโนซิงกออกไซด การถูกหอหุม ดวยไคโตซานและสมบัติทางกายภาพอีกดวย ผูวิจัยคาดหวังวาจะสามารถประยุกตใชกับผลิตภัณฑจักสานของชุมชนไดเปนอยางดี และองคความรูจะเปนแนวทางในการพัฒนานวัตกรรมดานวัสดุนาโนคอมโพสิตสําหรับการยับยั้งเชื้อราที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ จากเซลลูโลสที่หลากหลายประเภท และพัฒนางานวิจัยทางดานไบโอนาโนเทคโนโลยีตอไป กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้ไดรับการสนับสนุนจากศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (NECTEC, YSC-21YTPES00381) สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และโครงการ วมว.-ม.ทักษิณ ประจําป พ.ศ. 2561

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3