Proceeding2562

1550 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน บทนํา ผลกระทบจากการสัมผัสเสียงดังขณะปฏิบัติงานนั้นทําใหเกิดความผิดปกติตั้งแตระดับนอยไปจนถึงระดับมากเริ่ม ตั้งแตสมรรถภาพการไดยินลดลงไปจนกระทั่งประสาทหูเสื่อม ผลกระทบดังกลาวไมสามารถแกไขกลับคืนมาใหเปนปกติได ตัวอยางของพนักงานที่ไดรับผลกระทบจากการทํางานภายใตพื้นที่ทํางานที่มีเสียงดังไดแก พนักงานแผนกเหมืองหิน แผนก สํานักงาน แผนกบดและยอยหิน แผนกความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม และแผนกซอมบํารุงมีภาวะประสาทหูเสื่อม คอนขางมาก เนื่องจากพนักงานไดรับสัมผัสเสียงดังสะสมมาเปนระยะเวลานานและเกิดจากความประมาทในการสวมใส อุปกรณปองกันเสียงดัง (รัตนาภรณ เพ็ชรประพันธและคณะ,2558) เชนเดียวกับการศึกษาของ อริสรา (2559) ที่พบวา พนักงานโรงงานอุตสาหกรรม แปรรูปยางธรรมชาติ มีความชุกของการสูญเสียการไดยิน รอยละ 60 สําหรับโรงงานผลิตน้ํายางขนที่ไดทําการศึกษาในครั้งนี้พบวามีการใชเครื่องปนแยกน้ํายางจํานวน 71 เครื่อง และ เครื่องจักรนั้นก็ยังติดตั้งอยูในบริเวณเดียวกันกับเครื่องรีดยางอีกดวย ดังนั้นเครื่องจักรดังกลาวจึงเปนแหลงกําเนิดเสียงที่ อาจกอใหเกิดผลกระทบตอสมรรถภาพการไดยินตอพนักงาน ทั้งนี้เพราะในพื้นที่ทํางานดังกลาวจะมีพนักงานทํางานอยูใน บริเวณนั้นดวย และจากการตรวจวัดสภาพแวดลอมในพื้นที่ทํางานบริเวณนั้นในป 2560 พบวาระดับเสียงดังในบริเวณพื้นที่ กระบวนการผลิตน้ํายางขนและการผลิตยางสกิมมีระดับความเขมเสียงเกินกวาคามาตรฐานตามประกาศกรมสวัสดิการและ คุมครองแรงงาน เรื่องมาตรฐานระดับเสียงที่ยอมใหลูกจางไดรับเฉลี่ยตลอดระยะเวลาการทํางาน 8 ชั่วโมงการทํางาน อยางไรก็ดีทางสถานประกอบการก็ไดมีการดําเนิน มาตรการควบคุมปองกันเสียงดังโดยสถานประกอบการไดจัดเตรียม อุปกรณปองกันอันตรายจากการสัมผัสเสียงดังไวใหพนักงานไดสวมใส แตกลับพบวามีพนักงานบางสวนยังไมสวมใสอุปกรณ ปองกันการไดยินตามที่ทางบริษัทจัดเตรียมไวให ดังนั้น ทางผูวิจัยจึงไดมีความประสงคที่จะสํารวจทัศนคติและพฤติกรรมการปองกันอันตรายจากการสัมผัสเสียง ดังของพนักงานโรงงานผลิตน้ํายางขนเพื่อจะศึกษาและหาแนวทางการสงเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมในการปองกันอันตราย จากการสัมผัสเสียงดังขณะปฏิบัติงานในลําดับตอไป วิธีการดําเนินการวิจัย งานวิจัยในครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey research) ที่ไดทําการสํารวจกลุมประชากรที่เปนพนักงานที่ ปฏิบัติงานในโรงงานน้ํายางขนแหงหนึ่งในจังหวัดตรัง จํานวน 91 คน ทั้งนี้ ผูวิจัยทําการเก็บรวบรวมขอมูลโดยใช แบบสอบถามโดยแบบสอบถามมีโครงสราง 3 สวนดังนี้คือ สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามจํานวน 21 ขอ ไดแก ระยะเวลาการทํางาน ปญหาสุขภาพ การใช อุปกรณปองกันอันตรายจากการสัมผัสเสียงดัง เปนตน สวนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับทัศนคติดานการปองกันอันตรายจากการสัมผัสเสียงดัง จํานวน 15 ขอ ทั้งนี้แบบสอบถาม มีขอคําตอบเปนแบบมาตราสวนประเมินคา (Rating Scale) ที่มีขอคําถามเปนแบบเลือกตอบ 5 ระดับ สําหรับกรณีขอ คําถามเชิงบวกและผูตอบแบสอบถามตอบวาเห็นดวยอยางยิ่ง คะแนนที่ไดจะมีคาเทากับ 5 คะแนน และระดับคะแนนจะ ลดลงไปจนถึงระดับความเห็นที่นอยที่สุด ซึ่งจะมีระดับคะแนนเทากับ 1 คะแนน ตามลําดับ และในทางตรงกันขาม กรณีที่ ขอคําถามเชิงลบและผูตอบแบสอบถามตอบวาเห็นดวยอยางยิ่ง คะแนนที่ไดจะมีคาเทากับ 1 คะแนน และระดับคะแนนจะ เพิ่มขึ้นไปจนถึงระดับความเห็นที่นอยที่สุด ซึ่งจะมีระดับคะแนนเทากับ 5 คะแนน ตามลําดับ และสําหรับเกณฑการ ประเมินระดับทัศนคติจะแบงออกเปน 3 ระดับ ไดแก ระดับคะแนนเฉลี่ยระหวาง 1.00 – 2.33 หมายถึง ทัศนคติดานการ ปองกันอันตรายจากการสัมผัสเสียงดังอยูในระดับต่ํา ขณะที่ระดับคะแนนเฉลี่ยระหวาง 2.34 – 3.67 หมายถึง ทัศนคติดาน การปองกันอันตรายจากการสัมผัสเสียงดังอยูในระดับปานกลาง และระดับคะแนนเฉลี่ยระหวาง 3.68 – 5.00 หมายถึง ทัศนคติดานการปองกันอันตรายจากการสัมผัสเสียงดังอยูในระดับสูง ตามลําดับ

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3