Proceeding2562
1551 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สวนที่ 3 ขอมูลพฤติกรรมเกี่ยวกับการปองกันอันตรายจากการสัมผัสเสียงดังทั้งที่เกี่ยวเนื่องจากการปฏิบัติงานใน พื้นที่ที่มีเสียงดังและพฤติกรรมการปองกันการสัมผัสเสียงดังนอกเหนือจากการทํางานในชวง 1 ปที่ผานมา โดยขอคําถาม เปนการวัดแบบ 2 ระดับดังนี้ ผูตอบแบสอบถามไดระดับคะแนน 1 คะแนน กรณีที่ปฏิบัติพฤติกรรม และผูตอบ แบบสอบถามจะไดระดับคะแนน 2 คะแนน กรณีที่ไมปฏิบัติพฤติกรรม สําหรับการเก็บรวบรวมขอมูลนั้น ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลตั้งแตเดือน กุมภาพันธ – เมษายน 2561 และ สถิติที่ใชสําหรับวิเคราะหขอมูลในครั้งนี้ คือ สถิติเชิงพรรณนา ไดแก คาความถี่ รอยละ (%) คาเฉลี่ย ( X ) และสวน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยและการอภิปรายผล ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม กลุมประชากรที่เขารวมการศึกษาในครั้งนี้จํานวน 91 คน โดยในจํานวนนี้พบวาสวนใหญเปนพนักงานเพศชาย จํานวน (รอยละ 53.85) สําหรับกลุมอายุที่มีผูเขารวมการศึกษาในครั้งนี้มากที่สุดคือ กลุมอายุ 41 – 50 ป (รอยละ 41.76) พนักงานสวนใหญรอยละ 36.26 ทํางาน ณ สถานประกอบการแหงนี้มาเปนเวลา 1 ถึง 10 ป เมื่อพิจารณาเกี่ยวกับระดับ การศึกษา พบวา มีพนักงานรอยละ 46.15 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา พนักงานสวนใหญทํางานฝายผลิต (รอยละ 80.22) ในจํานวนนี้เปนพนักงานที่ทํางานในตําแหนงผลิตยางสกิม จํานวน 28 คน (รอยละ38.36 ของจํานวนพนักงานฝาย ผลิตที่เขารวมการศึกษา) มีพนักงานรอยละ 9.89 รายงานวาทํางาน 7 วันตอสัปดาห อยางไรก็ดีเมื่อพิจารณาการทํางาน ลวงเวลาของพนักงาน พบวามีพนักงานรอยละ 14.29 ที่ทํางานลวงเวลา ในจํานวนนี้มีพนักงาน 9 รายที่ทํางานลวงเวลาวัน ละ 2 ชั่วโมง และที่เหลืออีก 3 ราย ทํางานลวงเวลาวันละ 3 ชั่วโมง ตามลําดับ พนักงานสวนใหญมีสุขภาพดี (รอยละ 96.70) ดังจะเห็นที่พนักงานรายงานวาไมมีโรคประจําตัว อยางไรก็ดี พบวามีพนักงาน จํานวน 43 ราย ที่มีอาการทาง รางกายขณะปฏิบัติงานในพื้นที่ๆมีเสียงดัง โดยพบวาในจํานวนนี้รายงานวา พนักงานรูสึกวาการไดยินลดลง (รอยละ 53.49) รองลงมา มีอาการปวดศีรษะรอยละ 30.23 และรายงานวามีอาการหูอื้อหรือมีเสียงดังภายในหู รอยละ 23.26 ตามลําดับ นอกจากนี้ สถานประกอบการไดมีการจัดเตรียมอุปกรณปองกันอันตรายจากการสัมผัสกับเสียงดังขณะ ปฎิบัติงานไวให อยางไรก็ดี มีพนักงานรายงานวาเมื่อมีการสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายจากการสัมผัสเสียงดังและรูสึกอึด อัดหรือรําคาญ จํานวน 12 คน (รอยละ 13.19) ในขณะที่สวนใหญรูสึกวาปลอดภัยเมื่อสวมใส (รอยละ 86.81) จากการ สอบถามพนักงานเกี่ยวกับสิ่งหรือปจจัยที่คาดวาจะกอใหเกิดอันตรายในพื้นที่ทํางานของตนเอง พบวา มีพนักงานจํานวน 42 คน ที่รายงานวามีปจจัยหรือสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่คาดวากอใหเกิดอันตรายในพื้นที่ทํางาน ในจํานวนนี้ มีพนักงานจํานวน 27 ราย ที่รายงานวากลิ่นของแอมโมเนียในพื้นที่ทํางานของตนเองเปนสิ่งที่คาดวาจะกอใหเกิดอันตรายรองลงมาคือ รายงานวา มีเครื่องจักรที่คาดวาจะกอใหเกิดอันตรายจํานวน 12 ราย มีพนักงานจํานวน 2 รายที่รายงานวา น้ําเสีย อาจเปนสิ่งที่ กอใหเกิดอันตรายในพื้นที่ทํางาน ขณะที่มีพนักงานจํานวน 1 ราย ที่รายงานวาในพื้นที่ทํางานของตนเองนั้นมีพื้นลื่น ซึ่งอาจ เปนปจจัยที่สําคัญที่อาจกอใหเกิดอันตรายได ตามลําดับ เมื่อสอบถามพนักงานเกี่ยวกับผลกระทบจากการสัมผัสเสียงดังตอ สุขภาพ พบวา พนักงานสวนใหญ (รอยละ 98.90) ทราบวาการสัมผัสกับเสียงดังตลอดระยะเวลาการทํางานมีผลกระทบตอ สุขภาพ นอกจากนี้ยังมีพนักงานที่ใหความเห็นวา อาการตางๆ ตอไปนี้เปนผลอันเนื่องมาจากการสัมผัสเสียงดังขณะทํางาน ติดตอกันเปนเวลานาน โดยมีพนักงาน จํานวน 58 คน ทราบวา อาการหูอื้อ หูตึง หูหนวก เปนผลมาจากการสัมผัสเสียงดัง นอกจากนี้ ยังมีพนักงานจํานวน 24 คน ที่ทราบวามีอาการปวดศีรษะ นั้นอาจเกิดจากการสัมผัสกับเสียงดังขณะปฏิบัติงาน เปนเวลานาน จากการศึกษาในครั้งนี้ แมจะพบวามีพนักงานสูงถึง รอยละ 89.01 ที่ไมทราบคามาตรฐานระดับความเขม เสียงที่ยอมใหลูกจางไดรับสัมผัสเฉลี่ยตลอดระยะเวลา 8 ชั่วโมงการทํางาน แตพนักงานก็ยังรับทราบวาทางสถาน ประกอบการมีมาตรการในการปองกันการสัมผัสกับเสียงดังขณะปฏิบัติงาเชนเดียวกับการศึกษาของ ศิริพงศ ศรีสุขกาญจน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3