Proceeding2562

1563 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบผลการตรวจระหวางเทคนิค PCR-HRM กับ ASPCR ในตัวอยาง 97 ราย ตัวอยาง HRM ASPCR % ความสอดคลอง Normal (negative for Hb Hope and Hb Tak) 17 17 17/17 = 100 Hb Hope 71 71 71/71 = 100 Hb Tak 9 9 9/9 = 100 รวม 97 97 97/97 = 100 อภิปรายผลการศึกษา และ สรุปผลการศึกษา สําหรับการตรวจฮีโมโกลิบินผิดปกติดวยเครื่องอัตโนมัติไมวาหลักการใด ฮีโมโกลบินผิดปกติอาจเกิดการเคลื่อนที่ใน ตําแหนงใกลเคียงกัน หรือตําแหนงเดียวกัน (co-migration) กับฮีโมโกลบินผิดปกติชนิดอื่นได หรือเคลื่อนที่ในตําแหนงเดียวกัน Hb F ซึ่งเปนฮีโมโกลโกลบินพบในโรคเบตาธาลัสซีเมีย เชน ฮีโมโกลบินโฮป (Hb Hope) เกิดจากความผิดปกติของยีนเบตาโกลบิน แบบ point mutation ที่ตําแหนง 136 เปลี่ยนเบส GGT>GAT สงผลใหกรดอะมิโน Glycine (Gly) เปน Aspatic acid (Asp) การ กลายพันธุของยีนเบตาโกลบินใน Hb Hope ไมสงผลตอการทําหนาที่ของฮีโมโกลบินจึงพบคาทางโลหิตวิทยาปกติและไมมีอาการ ทางคลินิก หากเกิดความผิดปกติ Hb Hope รวมกับ β -thalassemia อาจพบคาทางโลหิตวิทยาเปลี่ยนแปลงไปไดเล็กนอย [11] ขณะฮีโมโกลบินตาก (Hb Tak) เกิดจากความผิดปกติของยีนเบตาโกลบินแบบ frame shift mutation ตําแหนง terminal codon 146 [CAC>CA(CA)C] สงผลใหจํานวนกรดอะมิโนเปลี่ยนแปลงไปเล็กนอย ทําใหเม็ดเลือดแดงจับกับออกซิเจนแนนกวา ปกติ ทําใหเกิดภาวะ secondary erythropoiesis ได ดังนั้นผูที่เปน heterozygous Hb Tak มักมีคา Hb, Hct และ RBC count สูงกวาคนปกติ ลักษณะของ Chromatogram ดวยวิธี HPLC ของ Hb Tak จะพบ ตําแหนง D-window และมักมีฮีโมโกลบินอื่น ตําแหนงนี้ดวย เชน Hb D-Panjab [8] สวน Electrophoregram ของ Hb Tak จะพบตําแหนงเดียวกับ Hb F [6] ดังนั้นการ ตรวจวิเคราะหฮีโมโกลโลบินดวยเครื่องอัตโนมัติไมสามารถระบุเปนชนิดฮีโมโกลบินไดอยางชัดเจน ทําใหยากตอการแปลผลและ รายงานผล จึงจําเปนตองการตรวจฮีโมโกลบินผิดปกติดวยเทคนิคทางโมเลกุล วิธี High resolution melting curve (HRM) analysis เปนวิธีที่มีความรวดเร็วและถูกตอง สามารถประยุกตใชในการตรวจ วินิจฉัยและจําแนกชนิดฮีโมโกลบินผิดปกติที่พบบอยในไทยได เชน Hb Hope และ Hb Tak ซึ่งสนับสนุนการควบคุมและปองกัน กลุมโรคธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบินผิดปกติในประเทศไทย โดยหลักการ PCR-HRM ใชสารเรืองแสงที่มีคุณสมบัติแทรกดีเอ็นเอสาย คูเทานั้นในการติดตาม PCR product เมื่อใหความรอนทําใหดีเอ็นเอสายคูแยกเปนสายเดี่ยว ซึ่งอุณหภูมิที่ทําใหสามารถตรวจวัด สารเรืองแสงไดลดลง 50% คือคา Tm ขึ้นอยูกับขนาดของ PCR product, สัดสวนของเบส G และ C และ ชนิดของเบสที่แตกตาง กันภายใน PCR product [12] การศึกษานี้ไดทําการเปรียบเทียบ 2 เทคนิค คือวิธี PCR-HRM กับวิธี allele specific PCR จํานวน 97 ตัวอยาง พบความสอดคลองรอยละ 100 การศึกษาในครั้งนี้ ทําการทดสอบเพียง 2 ชนิดเทานั้น คือ Hb Hope และ Hb Tak นาจะตรวจใหครอบคลุมชนิดอื่น ๆ ที่ตรวจพบในประเทศไทยดวย ดังนั้นการตรวจฮีโมโกลบินผิดปกติดวยเทคนิค HRM

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3