Proceeding2562

1615 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 4 (1a) (1b) ภาพที่ 1 การติดตั้งเซฟการ์ด (1a) เซฟการ์ดด้านหน้า และ (1b) เซฟการ์ดด้านหลัง 3. การตรวจวัดฝุ่นทุกขนาด (Total Dust) การเก็บตัวอย่างฝุ่นทุกขนาด ตามวิธีของ NIOSH 0500 โดยเก็บตัวอย่างแบบพื้นที่ (Area sample) เครื่องมือที่ใช้ใน การเก็บฝุ่นทุกขนาดเป็นชนิด Air Sampling Pump โดยอากาศจะถูกดูดผ่านกระดาษกรอง Polyvinyl Chloride (PVC) ที่มี ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 37 มิลลิเมตร pore size 5 ไมคอน ด้วยอัตราระหว่าง 2 ลิตรต่อนาที โดยทาการ calibrate เครื่อง เก็บตัวอย่างอากาศด้วยวิธี Soap bubble method จากนั้นนามาเก็บตัวอย่างฝุ่น ซึ่งทาการเก็บตัวอย่าง TD ก่อนและหลัง การติดตั้งเซฟการ์ด ทั้งด้านหน้าและด้านหลังเครื่องเลื่อย โดยเก็บจุดละ 4 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 08.00 – 12.00 น. เนื่องจากใน เวลาดังกล่าวมีปริมาณฝุ่นค่อนข้างเยอะกว่าช่วงบ่าย หลังจากนั้นคารวณหาปริมาณความเข้มข้นฝุ่นทุกขนาดได้ดังสมการที่ 1 = ( 2 − 1 )−( 2 − 1 ) (1) เมื่อ C = ความเข้มข้นของอนุภาคฝุ่น (mg/m 3 ) W 2 = น้าหนักกระดาษกรองหลังเก็บตัวอย่าง (mg) และ W 1 = น้าหนักกระดาษกรองก่อนเก็บตัวอย่าง (mg) B 2 = น้าหนักแบล๊งค์หลังเก็บตัวอย่าง (mg) และ B 1 = น้าหนักแบล๊งค์หลังเก็บตัวอย่าง (mg) V = ปริมาณอากาศ (m 3 ) 4. การตรวจวัดระดับความดังเสียง การตรวจวัดระดับความดังเสียงแบบพื้นที่โดยใช้เครื่องวัดเสียง (Sound Level Meter) ชนิด Type 2 ยี่ห้อ RION รุ่น NL-21 Serial No. 1803-07-302-01 ตามมาตรฐาน IEC 6084 ทาการสอบเทียบโดยใช้ซาวด์คาลิเบรเตอร์ประเภท Acoustical Calibratorที่ 94 dB โดยทาการตรวจวัดในแผนกเลื่อยไม้ ที่บริเวณด้านหน้าและหลังของเครื่องเลื่อย จานวน 3 เครื่อง จานวน 6 จุด ซึ่งได้ทาการตรวจวัดในแต่ละจุดเป็นเวลา 4 ชั่วโมง 5. การทดสอบประสิทธิภาพของเซฟการ์ด การทดสอบประสิทธิภาพของเซฟการ์ดที่ติดตั้งบนเครื่องเลื่อย ได้ศึกษาจานวนการเกิดอุบัติเหตุที่เกิดจากใบเลื่อย กระเด็นใส่ผู้ปฏิบัติงาน ระดับความดังเสียงและการฟุ้งกระจายของฝุ่นทุกขนาดที่ลดลง โดยเปรียบเทียบผลการตรวจวัดก่อน และหลังที่มีการติดตั้งเซฟการ์ด ดังสมการที่ 2 ประสิทธิภาพ = (A−B)×100 A (2)

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3