Proceeding2562
1617 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 6 Administration (OSHA) ที่กาหนดไม่เกิน 15 mg/m 3 ซึ่งพบว่าก่อนการติดตั้งเซฟการ์ด ค่าความเข้มข้นฝุ่นไม้ TD มีค่า ใกล้เคียงกับค่ามาตรฐาน ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานได้และหลังติดตั้งเซฟการ์ดเครื่องเลื่อย จะเห็นได้ว่าค่า ความเข้มข้นของฝุ่นอยู่ในเกณฑ์ค่ามาตรฐานที่กาหนดทั้งหมด ซึ่งค่าความเข้มข้นก่อนติดตั้งเซฟการ์ดที่ตรวจวัดได้มีค่าใกล้เคียง กับการศึกษาอื่นๆ คือ 9.04 mg/m 3 [7] เมื่อพิจารณาถึงประสิทธิภาพของเซฟการ์ดในการควบคุมการฟุ้งกระจายของฝุ่นไม้ TD ของเครื่องเลื่อยทั้ง 3 ตัว พบว่า เซฟการ์ดด้านหน้าเครื่องเลื่อยตัวที่ 1 ตัวที่ 2 และ ตัวที่ 3 มีประสิทธิภาพในการลดปริมาณฝุ่น เท่ากับ 28, 33 และ 31 % ตามลาดับ โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 30.6 % และเซฟการ์ดบริเวณด้านหลังเครื่องมีค่า 17, 37 และ 32 ตามลาดับ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 34.5% ภาพที่ 3 ค่าความเข้มข้นของฝุ่นระหว่าง ก่อน-หลังติดตั้งเซฟการ์ดเครื่องเลื่อย 3. การตรวจวัดระดับความดังเสียงของเครื่องเลื่อย จากการตรวจวัดระดับความดังเสียงในแผนกแปรรูปไม้ยางพารา โรงเลื่อย 2 ทั้งหมด 111 จุด พบว่า เมื่อนาค่าที่ ตรวจวัดได้มาเปรียบเทียบกับประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเรื่อง มาตรฐานระดับเสียงที่ยอมให้ลูกจ้างได้รับเฉลี่ย ตลอดระยะเวลาการทางานในแต่ละวันที่ได้กาหนดมาตรฐานที่ลูกจ้างได้รับสัมผัสเสียงดังเฉลี่ยตลอดระยะเวลาการทางาน 8 ชั่วโมง ไม่เกิน 85 dB(A) มีระดับความดังเสียงผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 26 จุด คิดเป็นร้อยละ 23.42จุด และไม่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน 85 จุด คิดเป็นร้อยละ 76.58 เมื่อนาไปจัดทาแผนที่เสียง (Noise contour mapping) โดยใช้ Program Surfer V.11 ซึ่งจากผลการตรวจวัดระดับเสียงดังพบว่าสามารถแบ่งโซนระดับเสียงได้เป็น 3 โซน คือโซนปลอดภัย (70-79 dB(A)) โซนเฝ้าระวัง (80-85 dB(A)) และโซนที่เสี่ยงการสูญเสียการได้ยิน (86- มากกว่า 94 dB(A)) ดังแสดงในภาพที่ 4 ภาพที่ 4 แผนที่เสียงแผนกโรงเลื่อย 28 33 31 17 37 32 0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 ก่อนติดตั้ง หลังติดตั้ง ตัวที่ 1 ตัวที่ 2 ตัวที่ 3 ประสิทธิภาพของเซฟการ์ดเครื่องเลื่อย/ %
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3