Proceeding2562
1626 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 7 อภิปรายผล จากผลการศึกษาพบว่าประเด็นที่แผงจาหน่ายอาหารในโรงเรียนไม่ผ่านเกณฑ์มากที่สุด คือ ประเด็นน ้าแข็งที่ใช้ บริโภคต้องสะอาด เก็บในภาชนะที่สะอาดมีฝาปิด ใช้อุปกรณ์ที่มีด้ามสาหรับคีบ หรือตักโดยเฉพาะ วางสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. เพราะพบว่าผู้จาหน่ายไม่มีอุปกรณ์ที่ใช้ในการตักหรือคีบ และใช้ภาชนะตักน ้าแข็งร่วมกับการสัมผัสประเภทอื่นๆ นอกจากนี้พบว่า บางรายมีการนาน ้าหวานที่มีการปรุงสาเร็จพร้อมขายนาไปแช่เย็นในลังน ้าแข็ง ผลการศึกษาการปนเปื้อน ของจุลินทรีย์ด้วยชุดทดสอบ SI-2 พบว่าร้อยละ 50 ของตัวอย่างน ้าแข็งมีการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย อย่างไรก็ตาม พบว่าผู้จาหน่ายรับน ้าแข็งมาจากแหล่งผลิตเดียวกัน ดังนั้นการปนเปื้อนที่เกิดขึ้นอาจเนื่องจากภาชนะบรรจุที่ไม่สะอาด หรือ เกิดการปนเปื้อนขณะที่เก็บรักษาน ้าแข็งเนื่องจากมีอาหารประเภทอื่นๆ ถูกเก็บรักษาไว้ในถังบรรจุน ้าแข็ง [6] ประเด็น เครื่องดื่มต้องใส่ภาชนะที่สะอาด มีการปกปิด และมีที่ตักที่มีด้ามยาว หรือมีก๊อกหรือทางเทรินน ้า พบว่าเครื่องดื่มที่มีการจัด จาหน่ายมีการปรุงสาเร็จและพร้อมจาหน่ายนั้นถูกบรรจุในภาชนะที่ผ่านการใช้งานแล้ว เช่น ขวดน ้าอัดลมพลาสติก ขวดน ้า ดื่ม เป็นต้น ประเด็นช้อน-ส้อม ตะเกียบ วางตั้งเอาด้ามขึ้นในภาชนะโปร่งสะ อาด และมีการปกปิด เก็บสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. พบว่า มีแผงจาหน่ายอาหารส่วนหนึ่งมีการเกาะของฝุ่นและตะกรัน ภาชนะที่บรรจุสกปรกมีคราบละอองฝุ่นจับเกาะ อย่างเห็นได้ชัด และมีจานวน 2 ร้าน (ร้อยละ 3.38) ได้เก็บตะเกียบที่ใช้แล้ว นามาใช้ซ ้า เพราะเชื่อว่าถ้าผ่านการล้างยังมีความ สะอาดเหมือนเดิม กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข (2561) [7] เผยข้อมูลตรวจพบสารฟอกขาวตกค้างใน ตะเกียบไม้แบบใช้แล้วทิ้ง แต่ไม่เกินค่าที่กฎหมายกาหนดนอกจากนี้ การนาตะเกียบที่ใช้แล้วมาล้างแล้วนากลับมาใช้ใหม่ อาจนาไปสู่การปนเปื้อนของแบคทีเรียและเชื้อราเช่น Penicillium, Aspergillus และ Alternaria ได้ ประเด็นมูลฝอย และน ้า เสียทุกชนิด ได้รับการกาจัดด้วยวิธีที่ถูกหลักสุขาภิบาล ผลการศึกษาพบว่าร้านจาหน่ายอาหารจะทิ้งน ้าเสียลงในท่อน ้าและ บางส่วนจะสาดน ้าบริเวณใกล้ๆ กับร้านแผงจาหน่ายอาหาร อย่างก็ตามข้อเสนอแนะของกรมควบคุมมลพิษ (2551) [8] กาหนดว่าควรทาการกวาดเศษอาหารออกจากภาชนะก่อนนาไปล้างและควรต้องผ่านการกาจัดน ้ามันและไขมันโดยใช้บ่อดัก ไขมัน รวมทั้งกาจัดกากไขมันให้ถูกหลักสุขาภิบาลด้วย ประเด็นล้างภาชนะด้วยน ้ายาล้างภาชนะ แล้วล้างด้วยน ้าสะอาด 2 ครั้ง หรือล้างด้วยน ้าไหล และที่ล้างภาชนะต้องวางสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. ผลการศึกษา พบว่าผู้จาหน่ายอาหารจะ รองรับน ้าไว้ใกล้ๆ กับแผงขายอาหารโดยที่น ้าในกะละมังไม่มีการไหลหมุนเวียน และจะล้างอุปกรณ์ในกะละมังเดิมที่รอง น ้าไว้โดยไม่มีการเปลี่ยนน ้าในกะละมังและเมื่อล้างเสร็จแล้วจะมีการเช็ดด้วยผ้าที่เตรียมไว้และนาไปใช้งานต่อไป เช่นเดียวกับการศึกษาของวรรนิภา เกลี้ยงสุวรรณ (2554) [9] ที่พบว่าผู้จาหน่ายอาหารไม่ได้ล้างภาชนะอุปกรณ์ด้วยวิธีการที่ ถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 81.2 สาหรับข้อแนะนาในการทาความสะอาดภาชนะและอุปกรณ์ภายหลังที่มีการคัดแยก เศษอาหารและการล้างประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ ขั้นแรกล้างด้วยน ้าผสมสารทาความสะอาดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อ ล้างคราบไขมัน เศษอาหารและสิ่งสกปรกที่ติดค้างอยู่โดยใช้ฟองน ้า ผ้าสะอาด หรือแผ่นใยสังเคราะห์ช่วยในการทาความ สะอาด และตามด้วยขั้นตอนการล้างด้วยน ้าสะอาดอีก 2 ครั้ง เพื่อล้างสารทาความสะอาด และสิ่งสกปรกต่าง ๆ ที่ยังค้างอยู่ ออกให้หมด [6]
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3