Proceeding2562

1636 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 5 6. กระบวนการออกแบบท่ารา ผู้สร้างสรรค์ได้ศึกษาท่าราในเพลงแม่บทใหญ่ ซึ่งเป็นท่ารามาตรฐานสามารถแสดงความหมายต่าง ๆ ได้ และศึกษาวิวัฒนาการของท่าราในแต่ละสมัยมาปรับใช้ผสมผสานกับท่าราใหม่ นามาร้อยเรียงแล้วทดลองรากับทานอง เพลง ในส่วนนาเริ่มต้นเข้าสู่ระบา ใช้ท่าราที่เป็นท่ามาตรฐาน และมีการกรายท่าให้มีกลิ่นอายของท่าราโบราณในบาง กระบวนท่า มีการแปรแถวและการตั้งซุ้ม หลายรูปแบบ ส่วนที่เป็นเนื้อหาของระบา ในช่วงที่ 1 ใช้ท่าราสื่อความหมาย ตามบทร้อง มีการแปรแถวและการตั้งซุ้มให้สอดคล้องกับบทร้อง ช่วงที่ 2 ใช้ท่าราประกอบสร้างเป็นลักษณะพยัญชนะ ลายสือไทย โดยใช้ผ้าเป็นอุปการณ์ในการแสดง พร้อมกับการเคลื่อนกระบวนแถวและการตั้งซุ้มในรูปแบบต่าง ๆ ช่วงที่ 3 ใช้ท่าราสื่อความหมายตามบทร้องและการจัดซุ้มภาพนิ่ง โดยนาพยัญชนะลายสือไทยมาร้อยเรียงให้เห็นเป็นคาว่าลายสือ ไทย ส่วนท้ายของระบา ใช้ท่าราที่เป็นท่ามาตรฐาน มีการกรายท่าให้มีกลิ่นอายของท่าราโบราณในบางกระบวนท่า ผลงานสร้างสรรค์ จากการสร้างสรรค์ผลงาน ชุด ลายสือไทย เป็นผลงานสร้างสรรค์ในรูปแบบนาฏศิลป์ไทย ประเภทระบา มีบทร้อง สื่อเรื่องราว ลักษณะของพยัญชนะลายสือไทย คุณค่าความสาคัญที่มีต่อคนไทย ประพันธ์บทร้องด้วยกลอน สุภาพจานวน 3 บท โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ส่วนที่ 1 ราออกด้วยเพลงพญาตรึก ส่วนที่ 2 เนื้อหาการแสดงมีบทร้อง จานวน 2 บท ร้องเพลงสะสม ต่อด้วยการจับระบาสื่อถึงพยัญชนะลายสือไทยด้วยเพลงกราวลายสือไทยที่สร้างสรรค์ใหม่ และปิดท้ายด้วยบทร้องจานวน 1 บท ร้องเพลงบรเทศ ส่วนที่ 3 ราเข้าด้วยเพลงรัวโบราณ ใช้กระบวนท่ารา สื่อความหมายไปตามบทร้อง มีการแปรแถวและการตั้งซุ้มรูปแบบต่าง ๆ แต่งกายโดยนาลักษณะการแต่งกายในสมัย สุโขทัยมาปรับประยุกต์ เน้นสีน้าตาลอมแดง เพื่อแสดงถึงความเก่าแก่ของอารยธรรม ใช้ผ้ายาว เป็นอุปกรณ์ในการ ประกอบสร้างเป็นลักษณะพยัญชนะของลายสือไทย ใช้นักแสดงผู้หญิงล้วน จานวน 12 คน สื่อความหมายเป็น หลักศิลาจารึกหลักที่ 1 ของพ่อขุนรามคาแหง กิตติกรรมประกาศ ผู้สร้างสรรค์ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์กษมะ กิ้มเฉี้ยงและอาจารย์ภัทระ กิ้มเฉี้ยง ที่กรุณาให้คาปรึกษา ทางด้านดนตรีรวมถึงประพันธ์บทร้องและทานองเพลง ขอขอบพระคุณคณาจารย์ประจาสาขาวิชาศิลปะการแสดง ที่คอยให้ความรู้และทักษะให้กับผู้สร้างสรรค์ในด้านต่าง ๆ คอยชี้แนะแนวทางให้กับผู้สร้างสรรค์เสมอมา สุดท้ายนี้ ขอขอบคุณครอบครัวของผู้สร้างสรรค์ที่คอยสนับสนุนทางด้านงบประมาณ และคอยให้กาลังใจ เป็นแรงผลักดันให้แก่ ผู้สร้างสรรค์ผลงาน ขอขอบคุณนิสิตสาขาวิชาศิลปะการแสดงที่เป็นส่วนหนึ่งในการทาให้ผลงานสร้างสรรค์ชิ้นนี้ สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี เอกสารอ้างอิง [1] ธวัช ปุณโณทก. (2553). วิวัฒนาการภาษาไทยและอักษรไทย. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [2] พิริยะ ไกรฤกษ์. (2547). จารึกพ่อขุนรามคาแหง วรรณคดีประวัติศาสตร์การเมืองแห่งกรุงสยาม . กรุงเทพ : บริษัท พิฆเณศ พริ้นติ้ง เซ็นเตอร์จากัด. [3] สุมิตร เทพวงศ์. (2542). ร้องราทาเพลง : ดนตรีและนาฏศิลป์ชาวสยาม . กรุงเทพฯ : บริษัท พิฆเณศ พริ้นติ้ง เซ็นเตอร์ จากัด . [4] สุรพล วิรุฬรักษ์. (2543). นาฏยศิลป์ปริทรรศน์ เล่ม 1 . กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3