Proceeding2562

1675 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน พิเศษคือการตีซ้ามือขวา การตีรัวในตัวโน้ตเสียงสูงเพียงเสียงเดียว และตีสลับมือซ้าย มือขวา ด้วยพยางค์เสียงสั้น การตีสลับ เสียงต่าและเสียงสูงเพื่อให้เห็นทานองสาเนียงจีนเด่นชัดมากยิ่งขึ้น เที่ยวเร็วท่อนที่ ๑ จากการวิเคราะห์พบว่า ในเที่ยวเร็วท่อนที่ ๑ มีทั้งหมด ๕ บรรทัด ใช้กลุ่มเสียงปัญจมูล ฟซลxดรx (ระดับ เสียงชวา) และกลุ่มเสียงปัญจมูล ทดรxฟซ (ระดับเสียงกลาง) การเคลื่อนที่ของทานองพบว่า เที่ยวเร็วมีการยึดลูกตกตามการ เคลื่อนที่ของทิศทางทานองเที่ยวช้า ซึ่งมีการเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกันกับเที่ยวช้า สานวนกลอนมีการเพิ่มตัวโน้ตเพื่อให้ เพลงมีความกระชับขึ้นอีกระดับหนึ่ง ซึ่งสังเกตได้จากแต่ละห้องจะบรรจุตัวโน้ต ๓ ตัว เป็นส่วนใหญ่ กลวิธีพิเศษที่พบ คือ การตี ซ้ามือขวา และตีสลับมือซ้าย มือขวา ด้วยพยางค์เสียงสั้น การตีสลับเสียงต่าและเสียงสูงเพื่อให้เห็นทานองสาเนียงจีนเด่นชัด มากยิ่งขึ้น เที่ยวกลับ ท่อนที่ ๑ จากการวิเคราะห์พบว่า ในเที่ยวเก็บท่อนที่ ๑ มีทั้งหมด ๕ บรรทัด ใช้กลุ่มเสียงปัญจมูล ฟซลxดรx (ระดับ เสียงชวา) และกลุ่มเสียงปัญจมูล ทดรxฟซ (ระดับเสียงกลาง) การเคลื่อนที่ของทานองพบว่า เที่ยวเก็บมีการยึดลูกตกตามการ เคลื่อนที่ของทิศทางทานองเที่ยวช้า ซึ่งมีการเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกันกับเที่ยวช้า สานวนกลอนมีการเพิ่มตัวโน้ตถี่ขึ้นมาก กว่าเดิมเพื่อให้เพลงมีความกระชับขึ้น ซึ่งสังเกตได้จากแต่ละห้องจะบรรจุตัวโน้ต ๔ ตัวเต็มห้อง เป็นส่วนใหญ่ กลวิธีพิเศษที่พบ การตีซ้ามือขวา และตีสลับมือซ้าย มือขวา ด้วยพยางค์เสียงสั้น การตีสลับเสียงต่าและเสียงสูงเพื่อให้เห็นทานองสาเนียงจีน เด่นชัดมากยิ่งขึ้น เที่ยวช้าท่อนที่ ๒ จากการวิเคราะห์พบว่า ในเที่ยวช้าท่อนที่ ๒ มีเพียง ๔ บรรทัดครึ่ง ใช้กลุ่มเสียงปัญจมูล ฟซลxดรx (ระดับ เสียงชวา) กลุ่มเสียงปัญจมูล ทดรxฟซ (ระดับเสียงกลาง) และกลุ่มเสียงปัญจมูล ซลทxรมx (ระดับเสียงเพียงออล่าง) พบกลวิธี พิเศษคือการตีซ้ามือขวา การตีสลับมือซ้ายมือขวา ด้วยพยางค์เสียงสั้น การตีรัวตัวโน้ตเพียงเสียงสูงเท่านั้น และการปิดเสียง ด้วยมือเพื่อตั้งจังหวะไปยังเที่ยวเร็ว เที่ยวเร็วท่อนที่ ๒ จากการวิเคราะห์พบว่า ในเที่ยวเก็บท่อนที่ ๒ มีทั้งหมด ๖ บรรทัด ใช้กลุ่มเสียงปัญจมูล ฟซลxดรx (ระดับ เสียงชวา) และกลุ่มเสียงปัญจมูล ทดรxฟซ (ระดับเสียงกลาง) การเคลื่อนที่ของทานองพบว่า เที่ยวเร็วมีการยึดลูกตกตามการ เคลื่อนที่ของทิศทางทานองเที่ยวช้า เพียงแค่ ๓ บรรทัดแรกเท่านั้น ในบรรทัดที่ ๔ - ๖ มีสานวนกลอนที่เพิ่มมาเพื่อถอนจังหวะ ลงจบและมีการเพิ่มตัวโน้ตถี่ขึ้นมากกว่าเดิมเพื่อให้เพลงมีความกระชับขึ้น ซึ่งสังเกตได้จากแต่ละห้องจะบรรจุตัวโน้ต ๔ ตัวเต็ม ห้อง เป็นส่วนใหญ่ กลวิธีพิเศษที่พบ การตีซ้ามือขวา การตีสลับมือซ้ายมือขวา ด้วยพยางค์เสียงสั้น และการตีประคบมือ ผลจากการวิเคราะห์เดี่ยวขิมเพลงแป๊ะฮวยพังพบว่า เพลงนี้เป็นเพลงสาเนียงจีนมี ๒ ท่อน การบรรเลงแบ่งออกเป็น ๒ เที่ยว คือ เที่ยวช้า และเที่ยวเร็ว ในเที่ยวเร็วท่อนที่ ๑ มีเที่ยวกลับอยู่ในท่อน มีการตีฉิ่งเฉพาะฉิ่งเสียงเปิด และใช้หน้าทับจีน โบราณ ซึ่งมีโครงสร้างของเพลงที่มีกลุ่มเสียงปัญจมูล ฟซลxดรx (ระดับเสียงชวา) และกลุ่มเสียงปัญจมูล ทดรxฟซ (ระดับเสียง กลาง) กลุ่มเสียงปัญจมูล ซลทxรมx (ระดับเสียงเพียงออล่าง) ลักษณะรูปแบบเพลงหรือสังคีตลักษณ์ ในเที่ยวช้า คือ A/B/ และ เที่ยวเร็วคือ A/BC/ สานวนกลอนที่พบในเพลง คือ การเพิ่มตัวโน้ตให้มีความถี่ขึ้น โดยการตีตัวโน้ตซ้ากัน จากอีกห้องหนึ่งไปสู่ อีกห้องหนึ่ง และบรรเลงตัวโน้ตเสียงสูงเป็นส่วนใหญ่ กลวิธีพิเศษที่พบ คือ การตีซ้ามือขวา การตีสลับมือซ้าย มือขวา ด้วย พยางค์เสียงสั้น การตีรัวตัวโน้ตเสียงสูงเพียงเสียงเดียว การปิดเสียงด้วยมือเพื่อตั้งจังหวะจากเที่ยวช้าไปยังเที่ยวเร็ว และการตี ประคบมือ แนวเพลงจึงมีความกระชับขึ้นตามลาดับ เที่ยวช้า และเที่ยวเร็ว เน้นความไหว การตีมือซ้าย มือขวา ในน้าหนักเสียง ที่เท่ากัน และความแม่นยาของผู้บรรเลง

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3