Proceeding2562

1680 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ตามที่ได้กล่าวข้างต้นเกี่ยวกับการบรรเลงซออู้ ความสาคัญของครูฉลวย จิยะจันทน์การศึกษากลวิธีการบรรเลงซออู้ ของครูฉลวย จิยะจันทน์ ผนวกเข้ากับบทความอันเป็นบริบทต่าง ๆ ในเรื่องของเพลงทยอยนอก สามชั้น ผู้วิจัยเห็นว่า การศึกษาสังคีตลักษณ์ หลักวิชาการต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ในเพลงทยอยนอก สามชั้น และแนวทางการบรรเลงซออู้ของค รูฉลวย จิยะจันทน์ ล้วนแต่เป็นองค์ความรู้ที่ควรแก่การศึกษาเป็นอย่างยิ่ง ตลอดจนบริบทต่าง ๆ ในทางซออู้เพลงทยอยนอก สามชั้น มี ความสมบูรณ์และมีอันลักษณ์ที่น่าสนใจ ด้วยเหตุดังกล่าวจึงเป็นเหตุจูงใจให้ผู้วิจัยสนใจ ที่จะวิเคราะห์กลวิธีพิเศษซออู้ทางครู ฉลวย จิยะจันทน์ โดยยึดหลักองค์ความรู้จากการศึกษาทฤษฎีดนตรีไทย ประวัติดนตรีไทย สังคีตลักษณ์วิเคราะห์ บริบทต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบรรเลงซออู้ ทยอยนอกสามชั้นทางครูฉลวย จิยะจันทน์ มาเป็นองค์ความรู้ประกอบการศึกษาและวิจัยเพื่อให้ ได้มาซึ่งผลการวิเคราะห์สังคีตลักษณ์และกลวิธีพิเศษในการบรรเลงซออู้เพลง ทยอยนอก สามชั้นทางครูฉลวย จิยะจันทน์ ใน ครั้งนี้ วิธีดำเนินกำรวิจัย งานวิจัยเรื่อง “ การวิเคราะห์แนวการการบรรเลงซออู้ของครูฉลวย จิยะจันทน์ เพลงทยอยนอก สามชั้น ” ผู้วิจัยได้ ใช้ระเบียบวิธีวิจัย เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยศึกษาจากบุคคลข้อมูลซึ่งเป็นศิลปิน นักวิชาการ ตลอดจนศิลปินผู้ มีความเชี่ยวชาญในการบรรเลงซออู้ โดยผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ตาราวิชาการต่าง ๆ เพื่อนามาประมวลผลภาย หลังจากการเก็บข้อมูล เรียบเรียงข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการพรรณนาวิเคราะห์ (Descriptive Analysis) โดยผู้วิจัย ได้แบ่งขั้นตอนในการดาเนินงานเป็นขั้นตอนดังต่อไปนี้ ขันที่ ๑ กำรเตรียมกำรและรวบรวมข้อมูล ๑.๑ ข้อมูลเอกสำร ๑. สานักวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒. หอสมุดวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ๓. หอสมุดสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กรมศิลปากร ๑.๒ ข้อมูลสัมภำษณ์ จากอาจารย์ณัฏฐวิต จิยะจันทน์ สถ า นี วิทยุ ก ร ะ จ า ย เ สี ย ง แห่ ง ป ร ะ เ ทศ ไ ทย ก ร ม ประชาสัมพันธ์ ขันที่ ๒ กำรจัดเอกสำรบริบทที่เกี่ยวข้อง ๑. ความหมายและความสาคัญของเพลงทยอย ๒. บริบทของซออู้ ๓. บริบทของเพลงทยอยนอก ขันที่ ๓ กำรวิเครำะห์ข้อมูล ๑. วิเคราะห์สังคีตลักษณ์ (Form) ๒. วิเคราะห์จังหวะ (Rhythm) ๓. วิเคราะห์ ระดับเสียง (Scale) ๔. วิเคราะห์ ลักษณะการดาเนินทานอง (Way of Melody) ขันที่ ๔ กำรนำเสนอข้อมูล ๑. การเสนอข้อมูลในรูปแบบงานวิจัย ๒. การจัดการแสดงต่อสาธารณชน

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3