Proceeding2562

1682 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ท่อน 4 กลุ่มทำนอง กลุ่มปัญจมูล กลุ่มทานองขึ้นต้น ซลทxรมx ทางเพียงออล่าง กลุ่มการโยนเสียง ซอล ซลทxรมx ทางเพียงออล่าง กลุ่มการโยนเสียง ฟา รมฟxลทx ทางนอก กลุ่มการโยนเสียง เร พบ2 กลุ่มเสียง ซลทxรมx และ รมฟxลทx ทางเพียงออล่างและทางนอก กลุ่มการโยนเสียง ซอล ซลทxรมx ทางเพียงออล่าง กลุ่มการโยนเสียง ลา ซลทxรมx ทางเพียงออล่าง กลุ่มทานองปิดท้าย ซลทxรมx ทางเพียงออล่าง 1. สังคีตลักษณ์ จากการวิเคราะห์การบรรเลงซออู้เพลงทยอยนอก สามชั้น ทางครูฉลวย จิยะจันทน์ กรณีศึกษา ครูณัฏฐวิต จิยะจันทน์ ในกรณีศึกษารูแบบการโยนกลุ่มเสียงต่าง ๆ พบว่าประกอบด้วยช่วงการโยนกลุ่ม โดยแยกออกมาเป็น ท่อน ดังจะอธิบายและกาหนดสัญลักษณ์แทนค่าเพื่อให้ได้รูปแบบสังคีตลักษณ์ ดังนี้ 2. บันไดเสียง จากการวิเคราะห์กลุ่มเสียงปัญจมูลที่ปรากฏในการบรรเลงซออู้ เพลงทยอยนอก สามชั้น ทางครู ฉลวย จิยะจันทน์ พบว่ามีการดาเนินทานองอยู่ใน กลุ่มเสียง ดังนี้ กลุ่มเสียงปัญจมูล ดรมxซลx ทางเพียงออบน กลุ่มปัญจมูล ซลทxรมx ทางเพียงออล่าง กลุ่มเสียงปัญจมูล รมฟxลทx ทางนอก 3. จังหวะ จากการวิเคราะห์การบรรเลงซออู้ เพลงทยอยนอก สามชั้น ทางครูฉลวย จิยะจันทน์ พบว่า จังหวะ หน้าทับที่ใช้การบรรเลงประกอบเพลงทยอยนอก ถ้าสาหรับการบรรเลงซออู้ หรือว่าการบรรเลงในรูแบบวงเครื่องสายนั้น เพลง ทยอยนอก สามชั้น มีการใช้โทน – รามะนาเป็นเครื่องประกอบจังหวะตามรูปแบบขนบของวงเครื่องสายไทย จังหวะหน้าทับที่ ใช้คือ หน้าทับสองไม้ สาหรับจังหวะฉิ่งที่ใช้ประกอบการบรรเลง จะตีฉิ่งจังหวะสามชั้น ทั้งนี้ ผู้บรรเลงฉิ่งจะบรรเลงให้อยู่ใน จังหวะที่สม่าเสมอ อัตราช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับผู้บรรเลงทานองเป็นหลัก สรุปผล อภิปรายผลการวิเคราะห์ การศึกษาและวิเคราะห์สังคีตลักษณ์และกลวิธีพิเศษในการบรรเลงซออู้ เพลงทยอยนอก สามชั้น ทางครูฉลวย จิยะ จันทน์ ผู้วิจัยพบว่ามีสังคีตลักษณ์ ในรูปแบบของทางเปลี่ยน คือ A/ B/ Ax/ Bx รูปแบบดังกล่าวพบว่ามีการโยนทั้งหมด ๆ กลุ่ม เสียง คือ เสียง มี เสียง เร เสียง ที เสียง ซอล เสียงโด เสียง ฟา และเสียง ลา นอกจากนี้ยังมีทานองขึ้นต้นเนื้อทานองและ สัญลักษณ์ที่พบ คือ A/ B/ Ax/ Bx

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3