Proceeding2562

1953 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 4 กลุมเปาหมาย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 จํานวน 1 หองเรียน ซึ่งเปนหองเรียนที่เนนการเรียนวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2561 จํานวน 24 คน ตัวแปรที่ใชในการวิจัย ตัวแปรตน ไดแก การจัดการเรียนรูผานกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมตามแนวทาง สะเต็มศึกษา และตัวแปรตาม ไดแก ทักษะการสรางสรรคและนวัตกรรม เครื่องมือวิจัย 1. แผนการจัดการเรียนรูผานกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมตามแนวทางสะเต็มศึกษาที่สงเสริมทักษะการ สรางสรรคและนวัตกรรม เรื่องสนุกกับโครงงานสะเต็มศึกษา ไดแก แผนที่ 1 รูทันการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 แผนที่ 2 การขับเคลื่อนเศรษฐกิจดวยนวัตกรรม 4.0 แผนที่ 3 การประยุกตใชเทคโนโลยี IOT กับนวัตกรรม 4.0 แผนที่ 4 นวัตกรรม สะเต็มของฉัน โดยผูวิจัยไดทําการออกแบบและสรางแผนการจัดการเรียนรูและปรึกษาผูเชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบความ เหมาะสมของกิจกรรมเรียนรู ความสอดคลองของเนื้อหาและขั้นตอนการจัดการเรียนรู และนําขอเสนอแนะมาปรับปรุงแกไข แลวนํามาใชกับผูเขารวมวิจัย 2. ใบงานของนักเรียน เปนใบงานที่ใหนักเรียนเขียนบันทึกทุกครั้งที่มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู โดยใบงานของ นักเรียนจะเปนสวนหนึ่งของแผนการจัดการเรียนรู รวมถึงวิดีโอการนําเสนอชิ้นงาน และอนุทินสะทอนผลการเรียนรู 3. แบบวัดทักษะการสรางสรรคและนวัตกรรม ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูโดยใชกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมตามแนวคิดสะเต็ม ศึกษา (NRC. 2012 : 5) ประกอบดวย 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นระบุปญหา นักเรียนตองทําความเขาใจปญหา วิเคราะหเงื่อนไข หรือขอจํากัดของสถานการณปญหาซึ่งนําไปสูการสรางชิ้นงานหรือวิธีการแกปญหา 2) รวบรวมขอมูลและแนวคิดที่เกี่ยวของ กับปญหา นักเรียนตองรวบรวมขอมูลและแนวคิดทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ประเมินความเปนไปได ขอดี และขอจํากัด 3) ออกแบบวิธีการแกปญหา นักเรียนสามารถประยุกตใชขอมูลและแนวคิดที่เกี่ยวของเพื่อการออกแบบชิ้นงาน หรือวิธีการในการแกปญหา โดยคํานึงทรัพยากร ขอจํากัด 4) วางแผนและดําเนินการแกปญหาในขั้นนี้นักเรียนตองสามารถ กําหนดลําดับขั้นตอนการสรางชิ้นงานหรือวิธีการแลวลงมือสรางชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการเพื่อใชในการแกปญหา 5) ทดสอบ ประเมินผลและปรับปรุงแกไขวิธีการแกปญหาหรือชิ้นงาน นักเรียนสามารถทดสอบและประเมินการใชงานหรือวิธีการโดยผลที่ ไดอาจนํามาปรับปรุงและพัฒนาใหมีประสิทธิภาพในการแกปญหาไดอยางเหมาะสม และ 6) นําเสนอวิธีการแกปญหาหรือ ชิ้นงาน นักเรียนสามารถนําเสนอแนวคิดและขั้นตอนการแกปญหาของการสรางชิ้นงานหรือวิธีการใหผูอื่นเขาใจและได ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนาตอไป การเก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูล ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดดําเนินการตามรูปแบบวิจัยปฏิบัติการตามวงจร PAOR ดังรายละเอียดตอไปนี้ ขั้นที่ 1 วางแผน ผูวิจัยสัมภาษณนักเรียนเกี่ยวกับความคิดสรางสรรคและนวัตกรรมจากสิ่งประดิษฐที่นักเรียนไมเคยเห็นมากอน และ รวมกับเพื่อนครูตางโรงเรียนในโครงการสนุกวิทย พลังคิด เพื่ออนาคต ใชกระบวนการ PLC ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู เริ่มตนและสรางเปนแผนการจัดการเรียนรูเรื่องสนุกกับโครงงานสะเต็มศึกษา จํานวน 4 แผนการจัดการเรียนรู ขั้นที่ 2 ขั้น ปฏิบัติการ ผูวิจัยดําเนินการจัดการเรียนรูตามแผนการจัดการเรียนรูเรื่องสนุกกับโครงงานสะเต็มศึกษาที่ไดออกแบบไว ขั้นที่ 3 สังเกตการณ ผูวิจัยดําเนินการเก็บขอมูลโดยใช ใบกิจกรรม วิดีโอการนําเสนองาน และอนุทินสะทอนการเรียนรู ขั้นที่ 4 สะทอนผลการปฏิบัติ ผูวิจัยนําขอมูลที่ไดจากใบกิจกรรม วิดีโอการนําเสนองาน และอนุทินสะทอนการเรียนรูมาเทียบกับเกณฑ ของแบบวัดทักษะการสรางสรรคและนวัตกรรมโดยดัดแปลงมาจากแบบวัดความคิดสรางสรรคของลอรลา กรีนสไตน (Laura Greenstein. 2012 : 83) หลังจากนั้นเปรียบเทียบระดับทักษะการสรางสรรคและนวัตกรรมที่ไดกําหนดในเกณฑการวัดทักษะ ความคิดสรางสรรคและนวัตกรรมจากใบกิจกรรมที่ 1, 2 , 3 และ 4 หลังจากนั้นผูวิจัยเขียนสรุปผลและรายงานผลในลักษณะ การเขียนบรรยายแตละดานของความคิดสรางสรรค โดยเกณฑการประเมินแบงเปน 4 ระดับ ดังนี้

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3