Proceeding2562
1955 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 6 กลุม อธิบายขอดี-ขอจํากัด ได 6 รายการ และมี 1 กลุม อธิบายขอดี-ขอจํากัดของอาชีพเกษตรกรรมไดมากที่สุด ถึง 8 รายการ สําหรับวงจรปฏิบัติการที่ 2 เปนกิจกรรมที่ใหนักเรียนนําปญหาเหลานั้นมาสรางเปนแผนผังกางปลา และเลือกปญหาที่นักเรียน สนใจจะนํามาแกไขดวยนวัตกรรม แลวรวมกันระดมความคิดสรางภาพรางนวัตกรรมหรือสิ่งประดิษฐที่นักเรียนสนใจในเวลาที่ กําหนด พบวา นักเรียนจํานวน 2 ใน 6 กลุม มีความคิดคลองแคลวอยูในเกณฑระดับ 4 คือ วาดภาพรางสิ่งประดิษฐ บอก องคประกอบไดครบถวนสมบูรณ แตนักเรียนจํานวน 4 กลุมที่เหลือมีความคิดคลองแคลวอยูในเกณฑระดับ 3 คือ วาดภาพราง สิ่งประดิษฐไดแตบอกองคประกอบไดไมครบถวน วงจรปฏิบัติการที่ 3 เปนกิจกรรมที่ใหนักเรียนสรางแบบจําลองของ สิ่งประดิษฐหรือนวัตกรรมที่นักเรียนรวมกันคิดขึ้นมาจากวงจรปฏิบัติการที่ 2 แลวอธิบายแบบจําลองไดสอดคลองกับการ แกปญหา ตรงประเด็น 5 รายการขึ้นไป พบวา นักเรียน 2 กลุม มีความคิดคลองแคลวอยูในเกณฑระดับ 4 แตนักเรียนจํานวน 4 กลุมที่เหลือมีความคิดคลองแคลวอยูในเกณฑระดับ 3 คือ อธิบายแบบจําลองไดสอดคลองกับการแกปญหา ตรงประเด็น 4 รายการเทานั้น จากผลการวิเคราะหทั้ง 3 วงจรปฏิบัติการ โดยภาพรวมของนักเรียนแตละกลุม พบวา ผลการพัฒนาความคิด คลองแคลวลดลงเรื่อย ๆ ตามลําดับ เนื่องจากกิจกรรมในวงจรปฏิบัติการที่ 1 นักเรียนบอกเพียงขอดี-ขอจํากัดของอาชีพ เกษตรกรรม ไมมีความซับซอน จึงทําใหนักเรียนคิดไดรวดเร็ว และวงจรปฏิบัติการที่ 2 นักเรียนเพียงวาดภาพสิ่งประดิษฐหรือ นวัตกรรมซึ่งมีความยากมากกวาวงจรแรกทําใหมีความคิดคลองแคลวลดลง และในวงจรปฏิบัติการที่ 3 นักเรียนตองสราง แบบจําลองและอธิบายแบบจําลองที่สอดคลองกับการแกปญหาที่นักเรียนเลือกมาซึ่งมีรายละเอียดมาก และนักเรียนขาดความ เชื่อมโยงกับสิ่งที่ทําเริ่มตน จึงทําใหนักเรียนมีความคิดคลองแคลวสวนใหญอยูในระดับ 3 ดานความคิดยืดหยุน นักเรียนจะไดรับการจัดการเรียนรูดวยแผนการจัดการเรียนรูที่ 2 เรื่อง การขับเคลื่อน เศรษฐกิจดวยนวัตกรรม 4.0 โดยในขั้นนี้นักเรียนจะไดรับความรูเกี่ยวกับนโยบายประเทศไทย 4.0 แลวไดความรูวาเศรษฐกิจ ของประเทศไทยจะถูกขับเคลื่อนไดดวยนวัตกรรม และครูกําหนดสถานการณปญหาเกี่ยวกับการขนสงที่ตองการใหรถขนสง สินคาไปยังปลายทางใหเร็วที่สุด โดยในวงจรปฏิบัติการที่ 1 ครูใหนักเรียนบอกชนิดของวัสดุที่ใชทํารถยนตจากเศษวัสดุเหลือใช หรือจากขยะในโรงเรียน ใหแตกตางจากแบบที่ครูใหนักเรียนสังเกต พบวา นักเรียน 2 กลุม สามารถบอกวัสดุในการสรางรถ ขนสงสินคาไดตางไปจากเดิม 3 ชนิด และนักเรียน 1 กลุม บอกวัสดุที่ใชในการสรางรถขนสงสินคาไดตางไปจากเดิม 4 ชนิด และในวงจรปฏิบัติการที่ 2 นักเรียนวาดภาพรางของรถยนตขนสงสินคา พบวา นักเรียน 1 กลุม วาดภาพรางรถยนตขนสง สินคาไดตางไปจากเดิม 4 จุด และ นักเรียน 3 กลุม วาดภาพรางฯ ตางไปจากแบบเดิม 3 จุด อีก 2 กลุม วาดภาพรางฯ ตางไป จากเดิมเพียง 2 จุด เทานั้น ในวงจรปฏิบัติการที่ 3 เมื่อแตละกลุมวาดภาพรางแลวนักเรียนจะตองนําวัสดุที่นักเรียนคิดในวงจร ที่ 1 มาประดิษฐตามภาพรางในวงจรที่ 2 โดยตองประดิษฐใหรถยนตขนสงสินคาเปนไปตามเงื่อนไขและแปลกไปจากตัวอยางที่ ครูใหตามเกณฑที่กําหนด พบวา นักเรียน 4 กลุม สามารถสรางรถยนตขนสงสินคาไดตามเงื่อนไขที่กําหนด และอีก 2 กลุม สามารถสรางรถยนตไดตามเงื่อนไขที่กําหนดแตแตกตางจากแบบเดิมแค 2 จุดเทานั้น จากผลการวิเคราะหทั้ง 3 วงจรปฏิบัติการ โดยภาพรวมของนักเรียนแตละกลุม พบวา ผลการพัฒนาความคิดยืดหยุน เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตามลําดับ เนื่องจากกิจกรรมในวงจรปฏิบัติการที่ 1 นักเรียนไดใชความคิดแบบอิสระ ตามประสบการณในการ เลือกวัสดุมาใชอยางหลากหลาย ในวงจรปฏิบัติการที่ 2 นักเรียนไดรวมกันระดมความคิด มีความคิดที่ยืดหยุนมากขึ้น โดยการ วาดภาพรางสิ่งประดิษฐ ที่แตกตางไปจากแบบเดิม และในวงจรปฏิบัติการที่ 3 นักเรียนไดสรางรถขนสงสินคาจากภาพรางใน วงจรปฏิบัติการที่ 2 ซึ่งรถขนสงสินคาของนักเรียนแตละกลุมมีลักษณะที่แตกตางกันทั้งวัสดุของลอ ตัวรถ และรูปแบบของรถ ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความคิดยืดหยุน ดานความคิดริเริ่ม นักเรียนจะไดรับการจัดการเรียนรูดวยแผนการจัดการเรียนรูที่ 3 เรื่องการประยุกตใชเทคโนโลยี IOT กับนวัตกรรม 4.0 โดยนักเรียนจะไดเรียนรูการเขียนโปรแกรมควบคุมการทํางานของอุปกรณไฟฟาอยางงาย ดวยการ จําลองการทํางานผานโปรแกรม Tinkercad กอน แลวหลังจากนั้นจึงมาเรียนรูการประกอบอุปกรณไฟฟาอยางงายหรือ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3