Proceeding2562

1956 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 7 เซ็นเซอรตาง ๆ กับบอรดสมองกลฝงตัว (microcontroller) และเมื่อนักเรียนไดเรียนรูความสามารถของ IOT นักเรียนตองนํา ความรูที่ไดมาออกแบบสรางเปนนวัตกรรมเพื่อขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 โดยในวงจรปฏิบัติการที่ 1 ครูใหนักเรียนสืบคน โครงงานวิทยาศาสตร หรือ โครงงานสะเต็มศึกษาที่นักเรียนสนใจ แลวใหนักเรียนวิพากษโครงงานแตละเรื่องอธิบายถึงขอดี- ขอจํากัดของโครงงานนั้น ๆ แลว รวมกันระดมความคิดวา นักเรียนจะนํา IOT มาประยุกตใชใหโครงงานนั้นมีประสิทธิภาพมาก ขึ้นไดอยางไร พบวา นักเรียนทุกกลุมสามารถอธิบายการนํา IOT มาประยุกตใชกับโครงงานที่ตนเองสนใจ ได 3 รายการขึ้นไป วงจรปฏิบัติการที่ 2 ครูใหนักเรียนวาดภาพนวัตกรรมเพื่อแกไขปญหาเกษตรกรรมในชุมชนที่นักเรียนสนใจ พบวา นักเรียนทุก กลุมสามารถนําความรูเรื่อง IOT ที่ไดเรียนรูมาประยุกตใชวาดเปนภาพรางนวัตกรรมเพื่อแกไขปญหาไดอยางหลากหลาย แตกตางจากที่ครูยกตัวอยางและแตกตางกับภาพรางของนักเรียนกลุมอื่น ๆ วงจรปฏิบัติการที่ 3 ครูใหนักเรียนแตละกลุมให ขอเสนอแนะแกเพื่อนๆ กลุมอื่นๆ โดยใหนักเรียนสังเคราะหการเรียนรูในแผนการจัดการเรียนรูที่ 3 แลวนําความรูที่ไดเกี่ยวกับ IOT มาใหขอเสนอแนะแกเพื่อนกลุมอื่นๆ เชน นวัตกรรมกรรมของเพื่อนกลุมนี้ควรเพิ่มไทมเมอรเพื่อชวยในการตั้งเวลาปด-เปด แทนการปด-เปด ของมนุษย เปนตน (การใหขอเสนอแนะของนักเรียนกลุมที่ 2 ตอการนําเสนอของนักเรียนกลุมที่ 3) ซึ่งพบวา มีนักเรียน 2 กลุม ที่สามารถใหขอเสนอแนะที่แตกตางและเปนประโยชนแกเพื่อนๆ ทั้ง 4 กลุม ได และมีนักเรียน 3 กลุม สามารถใหขอเสนอแนะแกเพื่อนไดเพียง 3 กลุม จากผลการวิเคราะหทั้ง 3 วงจรปฏิบัติการ โดยภาพรวมของนักเรียนแตละกลุม พบวา ผลการพัฒนาความคิดยืดหยุน เพิ่มขึ้น ในวงจรปฏิบัติการที่ 1 และ 2 แตในวงจรปฏิบัติการที่ 3 ยังมีนักเรียน 2 กลุม ที่ใหขอเสนอแนะที่แตกตางและเปน ประโยชนใหแกเพื่อนไดเพียงระดับ 3 อาจเปนเพราะนักเรียนทั้งสองกลุมยังมีความคิดอยูในกรอบและมีประสบการณดาน การเกษตรและ IOT ที่ยังไมถูกตองครบถวน แตนักเรียนอีก 3 กลุม สามารถคิดไดแปลกใหมและใหคําแนะนําแกเพื่อน ๆ กลุม อื่นๆ ได ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความคิดริเริ่ม ดานความคิดละเอียดลออ นักเรียนจะตองคิดและกําหนดรายละเอียดภาพรางเพื่อบอกถึงวิธีสรางและการนําไปใช ซึ่งในวงจรปฏิบัติการที่ 1 ในดานความคิดละเอียดลออนี้นักเรียนจะตองทําการแกปญหาโดยการวาดภาพรางของสิ่งประดิษฐ หรือนวัตกรรมเพื่อนําไปใชแกปญหาในชีวิตจริงโดยกําหนดรายละเอียด พรอมทั้งบอกถึงวิธีการสรางของชิ้นงานโดยการ นําเสนอ พบวา นักเรียนทุกกลุมมีความคิดละเอียดลอออยูในเกณฑ ระดับ 4 คือ นักเรียนวาดภาพรางสิ่งประดิษฐ ระบุขนาด และวัสดุที่ใชอยางครบถวน พรอมทั้งอธิบายถึงวิธีการสรางไดครบทุกองคประกอบ ตัวอยางเชน “นักเรียนสรางเครื่องควบคุม การทํางานของอุปกรณไฟฟาผานอุณหภูมิหอง นักเรียนวาดภาพรางและระบุขนาดกลองควบคุมขนาด 30 x 20 เซนติเมตร ใช บอรดอาดุยโน เปนไมโครคอนโทรเลอรควบคุมอุปกรณไฟฟาผานรีเลยภายใตขอมูลที่ไดจากเซนเซอรตรวจจับอุณหภูมิ เพื่อ นําไปควบคุมการเปด-ปด ของพัดลมระบายอากาศภายในหอง หรือ ตูทําน้ําดื่ม ภายในโรงเรียน ในการสรางนํารีเลยตอ ขาสัญญาณกับบอรดอาดุยโน แลวนําเซ็นเซอรตรวจจับอุณหภูมิ เชื่อมตอสัญญาณกับบอรดอาดุยโน นําปลั๊กไฟบานเชื่อมตอ ผานรีเลย เพื่อทําเตารับไปควบคุมอุปกรณที่ตองการ” (การนําเสนอของนักเรียนกลุมที่ 5 ในชวงการนําเสนอวิธีการสราง สิ่งประดิษฐ) ในวงจรที่ 2 ครูไดใหนักเรียนทําการปรับปรุงภาพรางสิ่งประดิษฐหรือนวัตกรรมของนักเรียนอีกครั้งหลังจาก นักเรียนไดเรียนรูดวยแผนการจัดการเรียนรูที่ 4 เรื่องนวัตกรรมสะเต็มของฉัน วาแนวคิดที่นักเรียนสนใจนั้นสามารถสรางเปน สิ่งประดิษฐหรือนวัตกรรมไดจริงหรือไม มีขอจํากัดใด นักเรียนจะเปลี่ยนแปลงโดยใชอุปกรณใดแทนอุปกรณเดิมที่นักเรียนคิด ไว โดยนักเรียนทุกกลุมตองนําเสนอแนวคิดที่ปรับปรุงอีกครั้ง พบวา นักเรียน 2 กลุมอยูในเกณฑระดับ 4 และมีนักเรียน 4 กลุม มีความคิดละเอียดลอออยูในเกณฑระดับ 3 คือ นักเรียนวาดภาพรางของสิ่งประดิษฐ มีการระบุขนาด วัสดุที่ใช ไดอยาง ครบถวน และอธิบายวิธีการปรับปรุงสิ่งประดิษฐไดบางสวน ตัวอยางเชน “กลุมที่ 4 โครงงานพัดลมปรับอากาศ สรางพัดลม จากวัสดุเหลือใชที่มีในบาน โดยใชมอเตอรจากพัดลมที่เสียแลว เชื่อมตอกับใบพัด และมีขวดกระจายความหอม โดยขวด กระจายความหอมจะเชื่อมตอดวยสายยูเอสบีกับพัดลม เมื่อพัดลมทํางาน ขวดกระจายความหอมจะทํางานดวย และไดทําการ ปรับเปลี่ยนจากการควบคุมการเปด-ปดการทํางานดวยระบบสมองกลฝงตัวเปนการเปด-ปดดวยมือของผูใชงานแทน เพราะงาย

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3