Proceeding2562

1957 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 8 และสะดวกตอการใชงานมากกวา” และ ในวงจรที่ 3 ครูไดใหนักเรียนสรางสิ่งประดิษฐจากภาพรางตามแนวคิดที่นักเรียน ออกแบบไว สอดคลองตามจุดประสงคที่กําหนดไวหรือไม พรอมนําเสนอโครงงานและอธิบายองคความรูดานสะเต็มศึกษาทั้ง ดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร วิศวกรรมศาสตร และเทคโนโลยี พบวา นักเรียนจํานวน 4 กลุม สรางสิ่งประดิษฐไดเปนไปตาม ภาพรางแนวคิดที่นักเรียนออกแบบไว สอดคลองกับจุดประสงคที่กําหนด และอธิบายองคความรูดานสะเต็มศึกษาไดครบถวน แตมีนักเรียน 2 กลุม ที่ไมสามารถสรางสิ่งประดิษฐไดตรงตามแนวคิดที่ออกแบบไว แตสอดคลองกับจุดประสงคที่กําหนด และ อธิบายองคความรูดานสะเต็มศึกษาไดถูกตองแตไมครบถวน สรุปผลการวิจัย จากผลการพัฒนาทักษะการสรางสรรคและนวัตกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เรื่องสนุกกับโครงงาน สะเต็มศึกษา โดยใชการจัดการเรียนรูผานกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมตามแนวทางสะเต็มศึกษา เมื่อครบวงจร ปฏิบัติการทั้ง 3 วงจรและประเมินทักษะการสรางสรรคและนวัตกรรมครบทั้ง 4 ดาน พบวา นักเรียนสวนหนึ่งมีพัฒนาการ สรางสรรคและนวัตกรรม สูงขึ้น โดยจะเห็นไดวา ความคิดละเอียดลออ และความคิดยืดหยุน มีคาสูงสุดคือ รอยละ 91.76 รองลงมาคือ ความคิดริเริ่มและความคิดคลองแคลว รอยละ 83.33 อาจเนื่องมาจากผูวิจัยไดนําสถานการณที่ใกลตัว เชน บริบทของอาชีพเกษตรกรรมในชุมชน ปญหาในโรงเรียน และชุมชมใกลเคียงของนักเรียนมาใหนักเรียนไดคิดวิเคราะหถึงปญหา ของสถานการณนั้น เนนใหนักเรียนไดระดมความคิด ทํางานเปนทีม สรางแบบจําลอง ปรับปรุงแกไขและพัฒนาเปนสิ่งประดิษฐ จริง ครูไดจัดสื่อการเรียนรูที่เหมาะสมกับนักเรียนทั้งรูปภาพ วีดีทัศน และชุดกิจกรรมตาง ๆ อีกทั้งจัดเตรียมอุปกรณสําหรับ สรางชิ้นงานที่หลากหลาย เอื้อบรรยากาศในการเรียนรูและใหเวลากับนักเรียนอยางเต็มที่ เพื่อใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติจริง ผลการวิจัยสะทอนวาการจัดการเรียนรูแบบสะเต็มที่นักเรียนไดออกแบบและสรางนวัตกรรมออกมา ชวยพัฒนาทักษะการ สรางสรรคและนวัตกรรมแหงศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนบางดานผานกระบวนการปฏิบัติจริง (บุญรัตน จันทร. 2559 : 233) และสอดคลองกับสิรินภา กิจเกื้อกูล (2558 : 202) ที่กลาววา การจัดการเรียนรูตามแนวสะเต็มศึกษา เปนการจัดการเรียนรูที่ สงเสริมใหผูเรียนทุกคนสามารถสรางชิ้นงานและมีทักษะในการออกแบบ และคิดหาวิธีการแกปญหาไดตามสภาพจริง เนนให ผูเรียนลงมือปฏิบัติเอง ทํางานรวมกันเปนกลุม และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน เปดโอกาสใหนักเรียนไดคิดในสิ่งที่แปลกใหมไม ซ้ําใคร เอกสารอางอิง [1] พรทิพย ศิริภัทราชัย. (2556). “STEM Education กับการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21,” วารสารนักบริหาร. 33(2), 49-56. [2] สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2557). เอกสารการจัดกิจกรรมการเรียนรูสะเต็มศึกษา. กรุงเทพฯ : สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. [3] สิรินภา กิจเกื้อกูล. (2558). “สะเต็มศึกษา (ตอนที่ 2) : การบูรณาการสะเต็มศึกษาสูการจัดการเรียนรูในชั้นเรียน,”. วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร. 17(3), 201-207. [4] สุภางค จันทวานิช. (2553). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. (พิมพครั้งที่ 18). กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. [5] Kemmis, S. and McTaggart, R. (2000). Participatory action research. In N. Denzin & Y. Lincoln(Eds.), Handbook of qualitative research (2 nd en., pp.567-605). Thousand Oaks, CA : Sage. [6] Laura Greenstein. (2012). Assessing 21 st century skills : a guide to evaluating mastery and authentic learning. California : Corwin Press, Inc.

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3