Proceeding2562
1963 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน พล อุ่นแก้ว (2551 : 57 – 63) ได้ศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เลย เขต 3 พบว่า สภาพการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลย เขต 3 โดยภาพรวมมีการ ปฏิบัติอยู่ในระดับมาก และสอดคล้องทัศพร ปูมสีดา (2559 : 205-223) ศึกษาสภาพปัจจุบันของการบริหารโรงเรียนขนาด เล็กเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา พบว่าอยู่ในระดับมาก 2.2) ผลการศึกษาความต้องการจาเป็นในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาจังหวัดสงขลาตามสภาพที่ควรจะเป็น โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( x =4.6945) และเมื่อพิจารณาเป็น รายด้านพบว่า ทุกด้านมีความต้องการจาเป็นในระดับมากที่สุด ด้านที่ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การบริหารทั่วไป( x =4.7656) รองลงมาคือ การบริหารบุคคล( x =4.7624) การบริหารงบประมาณ( x =4.7574) และการบริหารวิชาการ( x =4.5858) มีค่าเฉลี่ยต่าที่สุด ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ โรงเรียนขนาดเล็กส่วนใหญ่มักจะประสบปัญหาการบริหารทั่วไปได้แก่ อาคารเรียนมี สภาพชารุดทรุดโทรม การขาดแคลนอาคารเรียนและอาคารประกอบเพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน การขาดแคลน พัสดุและครุภัณฑ์ที่จาเป็น เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องถ่ายเอกสาร เป็นต้น ดังนั้นด้วยสภาพปัญหาและความสาคัญของ การบริหารทั่วไปดังกล่าวข้างต้น จึงอาจจะทาให้ครูผู้ปฏิบัติการสอนในโรงเรียนขนาดเล็กมีความคาดหวังในด้านการบริหาร ทั่วไปสูงกว่าการบริหารด้านอื่นๆ สอดคล้องกับงานวิจัยของสาเร็จ มีคม (2552 : 82 – 92) ได้ศึกษาสภาพปัจจุบันและ สภาพที่คาดหวังของการบริหารโรงเรียนขนาดเล็กในยุคปฏิรูปการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1- 4 พบว่า สภาพความคาดหวังของครูและผู้บริหารในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา บุรีรัมย์ เขต 1- 4 มีความคาดหวังในการบริหารงบประมาณอยู่ในระดับมากที่สุด นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของชิ รินตรา เวียงวะลัย (2559 : 116 – 122) ได้ศึกษาสภาพที่เป็นจริงและความคาดหวังของครูในการบริหารโรงเรียน สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1 พบว่า ครูมีสภาพความคาดหวังในการบริหารทั่วไปอยู่ในระดับ มากที่สุด 3. ผลการเปรียบเทียบความต้องการจาเป็นในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาจังหวัดสงขลา จาแนกตามตัวแปรเพศ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ในการทางาน และสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผลการเปรียบเทียบ พบว่า 3.1) ผลการเปรียบเทียบความต้องการจาเป็นในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดสงขลาตามสภาพที่เป็นอยู่ จาแนกตามตัวแปรเพศ พบว่า ครูที่มีเพศต่างกัน มีระดับต้องการ จาเป็นในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดสงขลาตามสภาพที่เป็นอยู่ โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าโรงเรียนขนาดเล็กมีข้อจากัดหลายประการ ครูทุกคนในโรงเรียนขนาด เล็กจึงจาเป็นที่จะต้องช่วยกันในการทางานต่างๆ เพื่อให้การดาเนินงานของโรงเรียนสามารถบรรลุผลตามมาตรฐานที่วางไว้ ด้วยเหตุนี้จึงอาจจะทาให้ครูทั้งเพศชายและเพศหญิงต่างรับรู้ เข้าใจถึงบริบทและปัญหาต่างๆของโรงเรียนของตนเป็นอย่าง ดี สอดคล้องกับงานวิจัยของ รจนา ทองธรรมชาติ (2557 : 75 – 84) ศึกษาสภาพการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2 พบว่า ครูที่มีเพศต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัจจุบันใน การบริหารโรงเรียนขนาดเล็กไม่แตกต่างกัน และสอดคล้องกับงานวิจัยของฐิติยา ปทุมราษฎร์และจิณณวัตร ปะโคทัง (2557 : 17 -25) ศึกษาสภาพการบริหารงานบุคลในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 5 พบว่า ครูที่มีเพศต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัจจุบันในการบริหารงานบุคคลไม่ แตกต่าง 3.2) ผลการเปรียบเทียบความต้องการจาเป็นในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดสงขลาตามสภาพที่เป็นอยู่ จาแนกตามตัวแปรวุฒิการศึกษา พบว่า ครูที่มีวุฒิการศึกษา ต่างกัน มีระดับความต้องการจาเป็นในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3