Proceeding2562

1964 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน จังหวัดสงขลาตามสภาพที่เป็นอยู่ โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน ทั้งนี้อาจะเป็นเพราะรัฐมีนโยบายในการยกระดับคุณภาพของ ครูโรงเรียนขนาดเล็ก โดยการส่งเสริมให้ครูมีการพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นแม้ว่าระดับวุฒิการศึกษาของครูแต่ละ คนจะแตกต่างกัน แต่หากได้รับการพัฒนาตนเองอยู่เสมอย่อมที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ด้วยเหตุ นี้จึงอาจจะทาให้ครูมีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับความต้องการจาเป็นในสภาพที่เป็นอยู่ไม่แตกต่างกัน ถึงแม้ว่าจะมีคุณวุฒิ การศึกษาที่แตกต่างกันก็ตาม สอดคล้องกับงานวิจัยของจุไรรัตน์ กรงาม (2556 : 121-132) ศึกษาปัญหาและแนวทางการ บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต4 พบว่า ครูที่มีวุฒิการศึกษาที่ แตกต่างกัน มีระดับความคิดเห็นต่อการสภาพที่เป็นอยู่ในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก ไม่แตกต่างกัน และสอดคล้องกับ งานวิจัยของอุษณีย์ ภารการ (2559 : 66-118) ได้ศึกษาการบริหารโรงเรียนขนาดเล็กของครูไม่ครบชั้น สังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1 พบว่า ครูที่มีวุฒิการศึกษาแตกต่างกัน มีระดับความคิดเห็นต่อสภาพการ บริหารโรงเรียนขนาดเล็กครูไม่ครบชั้น ไม่แตกต่างกัน 3.3) ผลการเปรียบเทียบความต้องการจาเป็นในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดสงขลาตามสภาพที่เป็นอยู่ จาแนกตามตัวแปรประสบการณ์ในการทางาน พบว่า ครูที่มี ประสบการณ์ในการทางานต่างกัน มีระดับความต้องการจาเป็นในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดสงขลาตามสภาพที่เป็นอยู่ โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าครูโรงเรียน ขนาดเล็กส่วนใหญ่มักจะต้องเผชิญกับสภาวะการที่ทางานที่มีข้อจากัดในหลายด้านๆ การทางานในสภาพบริบทที่คล้ายกัน นี้ก็อาจจะทาให้ระดับความคิดเห็นของครูที่มีต่อสภาพที่เป็นอยู่ของโรงเรียนขนาดเล็กส่วนใหญ่ไม่แตกต่างกัน แม้ว่าจะมี ประสบการณ์ในการทางานต่างกันก็ตาม สอดคล้องกับงานวิจัยของสมศักดิ์ ไพคานาม (2558 : 300 -335) ศึกษาสภาพการ บริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยการอาชีพ สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี พบว่า บุคลากรทางการศึกษาที่มี ประสบการณ์ในการทางานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อสภาพที่เป็นอยู่ในการบริหารสถานศึกษาไม่แตกต่างกัน สอดคล้องกับ งานวิจัยนฤมล สังข์ปั้น ( 2559 : 227 – 238) ศึกษาสภาพการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดอุบลราชธานี พบว่า ครูที่มีประสบการณ์ในการทางานต่างกัน มี ความคิดเห็นต่อสภาพที่เป็นอยู่ในการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา ไม่แตกต่างกัน และสอดคล้องกับงานวิจัยของฐิติยา ปทุมราษฎร์และจิณณวัตร ปะโคทัง (2557 : 17 -25) ศึกษาสภาพการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 5 พบว่า ครูที่มีประสบการณ์ในการทางานต่างกัน มีความ คิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัจจุบันในการบริหารงานบุคคลไม่แตกต่างกัน 3.4) ผลการเปรียบเทียบความต้องการจาเป็นในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดสงขลาตามสภาพที่เป็นอยู่ จาแนกตามตัวแปรสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา พบว่า ครูที่ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาต่างกัน มีระดับความต้องการจาเป็นในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดสงขลาตามสภาพที่เป็นอยู่ โดยภาพรวมแตกต่างกัน สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้อาจจะเป็นเพราะว่าสภาพที่ตั้งของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดสงขลา ทั้ง 3เขต มีที่ตั้งและบริบทที่ต่างกัน กล่าวคือ โรงเรียนขนาดเล็กที่สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ส่วนใหญ่อยู่ห่างไกลจากตัวจังหวัด และห่างไกลจากที่ตั้งของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต3 ทาให้ไม่สะดวกในการติดต่อ ประสานงานของศึกษานิเทศก์และบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งแตกต่างจากสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 และเขต2 ที่มีที่ตั้งของสานักงานเขตพื้นที่แบ่งเป็น 2 ส่วน สอดคล้องกับงานวิจัยของ วีณา กิ่งสอน (2555 : 103 -117) ได้ศึกษาปัญหาการบริหารงานโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาในจังหวัดชลบุรี พบว่า การเปรียบเทียบสภาพปัจจุบันในการบริหารงานโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดชลบุรี จาแนกตามที่ตั้ง โดยรวมและรายด้าน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทาง

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3