Proceeding2562
914 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 4 วิธีการทดลอง การศึกษาครั้งนี้ แบ่งการทดลองออกเป็น 2 ชุด การทดลองชุดที่ 1 ศึกษาเปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ดมะเขือเทศที่ถูกกระตุ้นด้วยความเข้มสนามไฟฟ้าและ ระยะเวลาที่ต่างกันก่อนปลูก นาเมล็ดมะเขือเทศแช่ทิ้งไว้ในน้าสะอาด เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นสุ่มเมล็ดวางลงในกล่องขนาด 16 10 5 เซนติเมตร กล่องละ 30 เมล็ด แล้วนาไปวางภายใต้สนามไฟฟ้าที่ระดับความเข้ม 20, 40 และ 60 kV/m เป็นเวลา 3, 6, 9 และ 12 ชั่วโมง ตามลาดับ เมื่อกระตุ้นเมล็ดมะเขือเทศด้วยสนามไฟฟ้าแล้วนาเมล็ดมะเขือเทศแต่ละชุดการทดลองออกจาก สนามไฟฟ้าไปปลูกในถาดเพาะกล้าที่มีดินชีวภาพอยู่ ให้ปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโต เมื่อเวลาผ่านไป 20 วัน ทาการ นับจานวนเมล็ดที่งอกทั้งหมดในแต่ละชุดการทดลองแล้วบันทึกผล สาหรับชุดควบคุม ทาการสุ่มเมล็ดมะเขือเทศที่ไม่ได้ผ่านการ กระตุ้นด้วยสนามไฟฟ้าไปปลูกในถาดเพาะกล้าและให้ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโ ต เมื่อเวลาผ่านไป 20 วัน ทาการนับ จานวนเมล็ดที่งอกแล้วบันทึกผล การทดลองชุดที่ 2 ศึกษาเปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์การงอก และการเจริญเติบโตของเมล็ดมะเขือเทศที่ถูกกระตุ้นด้วย ความเข้มสนามไฟฟ้าและระยะเวลาเดียวกัน แต่ทิศทางสนามไฟฟ้าต่างกันก่อนปลูก นาเมล็ดมะเขือเทศแช่ทิ้งไว้ในน้าสะอาด เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นสุ่มเมล็ดวางลงในกล่องขนาด 16 10 5 เซนติเมตร กล่องละ 30 เมล็ด กาหนดทิศทางสนามไฟฟ้าให้มีทิศพุ่งลงจากขั้วบวกเข้าสู่ขั้วลบ (ภาพที่ 1) แล้วนาไปวางภายใต้ สนามไฟฟ้าที่ระดับความเข้มของสนามไฟฟ้า 20 kV/m เป็นเวลา 12 ชั่วโมง ซึ่งเป็นความเข้มสนามไฟฟ้าและระยะเวลาที่ทาให้ เมล็ดมีเปอร์เซ็นต์การงอกสูงสุด (จากผลการทดลองที่ 1) อีกชุดการทดลองเปลี่ยนทิศทางสนามไฟฟ้าเป็นทิศพุ่งขึ้นจากขั้วบวก เข้าสู่ขั้วลบ (กลับขั้วกระแสไฟฟ้า) เมื่อกระตุ้นเมล็ดมะเขือเทศด้วยสนามไฟฟ้าแล้วนาเมล็ดมะเขือเทศแต่ละชุดการทดลองออก จากสนามไฟฟ้าไปปลูกในถาดเพาะกล้า และให้ปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโต เมื่อเวลาผ่านไป 20 วัน ทาการนับ จานวนเมล็ดที่งอกทั้งหมดในแต่ละชุดการทดลองแล้วบันทึกผล จากนั้นสุ่มต้นกล้าที่งอกจากแต่ละชุดการทดลอง ชุดละ 10 ต้น แล้วปลูกต่อเพื่อศึกษาการเจริญเติบโต ให้ปัจจัยที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตอีก 25 วัน เมื่อครบกาหนดเก็บข้อมูลโดยวัดความสูง ลาต้น ความยาวราก ชั่งน้าหนักสด น้าหนักแห้งและบันทึกผล การวิเคราะห์ข้อมูล 1) การเปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ดมะเขือเทศที่ผ่านการกระตุ้นด้วยความเข้มของสนามไฟฟ้าและ ระยะเวลาที่ต่างกัน โดยหาค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ด และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ Two – Way ANOVA และ เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของข้อมูลโดยวิธี Dancan’s Multiple Range Test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % 2) การเปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์การงอกและการเจริญเติบโตของมะเขือเทศที่ผ่านการกระตุ้นด้วยความเข้มของ สนามไฟฟ้าและระยะเวลาเดียวกันแต่ทิศทางของสนามไฟฟ้าต่างกัน และเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของต้นกล้ามะเขือเทศที่ ผ่านการกระตุ้นด้วยสนามไฟฟ้าและไม่กระตุ้นด้วยสนามไฟฟ้า โดยหาค่าเฉลี่ยของความสูงลาต้น ความยาวราก น้าหนักสด น้าหนักแห้ง และวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลโดยใช้ t-test for Independent Samples
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3