Proceeding2562
917 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 7 4.88 4.83 2.49 2.3 1.86 1.62 0.16 0.16 0 2 4 6 ทิศลง ทิศขึ้น การเจริญเติบโตของต้นอ่อน มะเขือเทศ ทิศทางสนามไฟฟ้า ความสูงลาต้น (cm) ความยาวราก (cm) น ้าหนักสด (g) น ้าหนักแห้ง (g) 4.26 4.88 1.8 2.49 0.67 1.87 0.06 0.16 0 2 4 6 ไม่กระตุ้นด้วยสนามไฟฟ้า กระตุ้นด้วยสนามไฟฟ้า การเจริญเติบโตของต้นอ่อน มะเขือเทศ วิธีการกระตุ้น ความสูงลาต้น (cm) ความยาวราก (cm) น ้าหนักสด (g) น ้าหนักแห้ง (g) ภาพที่ 4 การเจริญเติบโตของต้นอ่อนมะเขือเทศที่ผ่านการกระตุ้นด้วยความเข้มสนามไฟฟ้า 20 kV/m เป็นระยะเวลา 12 ชั่วโมง แต่ทิศทางของสนามไฟฟ้าแตกต่างกัน 2.3 การศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของต้นกล้าที่ผ่านการกระตุ้นด้วยสนามไฟฟ้าและไม่กระตุ้นด้วย สนามไฟฟ้า ผลจากการทดลองพบว่า ค่าเฉลี่ยความสูงลาต้น ความยาวราก น้าหนักสด และน้าหนักแห้งของต้นกล้าที่ไม่ผ่าน การกระตุ้นด้วยสนามไฟฟ้า มีค่าเท่ากับ 4.26 ± 0.46 cm, 1.80 ± 0.32 cm, 0.67 ± 0.28 g และ 0.06 ± 0.03 g ตามลาดับ ส่วนค่าเฉลี่ยความสูงลาต้น ความยาวราก น้าหนักสด และน้าหนักแห้งของต้นกล้าที่ผ่านการกระตุ้นด้วยความเข้มสนามไฟฟ้า 20 kV/m เป็นเวลา 12 ชั่วโมง ทิศทางสนามไฟฟ้าพุ่งลงจากขั้วบวกเข้าสู่ขั้วลบ มีค่าเท่ากับ 4.88 ± 0.22 cm, 2.49 ± 0.35 cm, 1.87 ± 0.70 g และ 0.16 ± 0.05 g ตามลาดับ โดยค่าเฉลี่ยน้าหนักแห้งของต้นกล้าที่ผ่านการกระตุ้นด้วยความเข้ม สนามไฟฟ้า 20 kV/m เป็นเวลา 12 ชั่วโมง ทิศทางสนามไฟฟ้าพุ่งลงจากขั้วบวกเข้าสู่ขั้วลบ มีค่าแตกต่างกับต้นกล้าที่ไม่ผ่าน การกระตุ้นด้วยสนามไฟฟ้า โดยที่น้าหนักแห้งของต้นกล้าที่ผ่านการกระตุ้นด้วยสนามไฟฟ้ามีค่ามากกว่าน้าหนักแห้งของต้นกล้า ที่ไม่ผ่านการกระตุ้นด้วยสนามไฟฟ้าอย่างมีนัยสาคัญ (p<0.05) (ภาพที่ 5) ภาพที่ 5 การเจริญเติบโตของต้นอ่อนมะเขือเทศที่ผ่านการกระตุ้นด้วยความเข้มสนามไฟฟ้า 20 kV/m เป็นระยะเวลา 12 ชั่วโมง ทิศทางสนามไฟฟ้าพุ่งลงจากขั้วบวกเข้าสู่ขั้วลบและไม่ผ่านการกระตุ้นด้วยสนามไฟฟ้า การกระตุ้นด้วยทิศทางสนามไฟฟ้าที่แตกต่างกันก่อนปลูก มีผลต่อเปอร์เซ็นต์การงอกและการเจริญเติบโตของมะเขือ เทศ โดยพบว่ามะเขือเทศที่ถูกกระตุ้นด้วยสนามไฟฟ้าทิศพุ่งลงมีเปอร์เซ็นต์การงอกและการเจริญเติบโตสูงกว่า เนื่องจาก ทิศพุ่งลงจะทาให้เมล็ดพืชสัมผัสกับสนามไฟฟ้าได้มากกว่า จึงทาให้เกิดกระบวนการเร่งปฏิกิริยาต่างๆ ภายในเมล็ดได้มากยิ่งขึ้น [2] ส่งผลให้เมล็ดงอกเร็วขึ้น และเกิดกระบวนการแบ่งเซลล์เพิ่มมากขึ้น ทาให้มีแนวโน้มเจริญเติบโตที่ดีกว่าต้นกล้าที่ไม่ผ่านการ กระตุ้นด้วยสนามไฟฟ้า สอดคล้องกับการศึกษาในถั่วงอกที่ใช้ความเข้มสนามไฟฟ้า 10, 20, 30, 40 และ 50 kV/m และ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3