Proceeding2562

918 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 8 ตาแหน่งการวางเมล็ดในแนวตั้งฉากและแนวขนานกับสนามไฟฟ้า พบว่าที่ความเข้มสนามไฟฟ้า 10-30 kV/m มีค่าเฉลี่ยความ สูงลาต้นและความยาวรากเพิ่มขึ้นตามความเข้มสนามไฟฟ้า ส่วนที่ความเข้มสนามไฟฟ้า 40 และ 50 kV/m ค่าเฉลี่ยความสูง ลาต้นและความยาวรากลดลง ตาแหน่งในแนวตั้งฉากกับสนามไฟฟ้าจะมีค่าเฉลี่ยความสูงลาต้น และความยาวรากสูงกว่า แนวขนานสนามไฟฟ้า เนื่องจากสนามไฟฟ้ามีผลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายในเมล็ดที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช [5] สรุปผลการวิจัย 1. การกระตุ้นเมล็ดมะเขือเทศด้วยความเข้มสนามไฟฟ้า 20 kV/m เป็นระยะเวลา 12 ชั่วโมง มีผลให้เปอร์เซ็นต์ การงอกของเมล็ดมะเขือเทศสูงสุด เท่ากับ 64.44 เปอร์เซ็นต์ 2. การกระตุ้นเมล็ดมะเขือเทศด้วยทิศทางสนามไฟฟ้าทิศพุ่งลงจากขั้วบวกเข้าสู่ขั้วลบส่งผลให้มะเขือเทศมีเปอร์เซ็นต์ การงอกสูงขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ถูกกระตุ้นด้วยทิศพุ่งขึ้น 3. การกระตุ้นเมล็ดมะเขือเทศด้วยทิศทางสนามไฟฟ้าพุ่งลงจากขั้วบวกเข้าสู่ขั้วลบ มีแนวโน้มในการเพิ่มค่าเฉลี่ยความ สูงลาต้น ความยาวราก น้าหนักสดและน้าหนักแห้ง เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ถูกกระตุ้นด้วยทิศพุ่งขึ้นและกลุ่มที่ไม่ผ่านการ กระตุ้นด้วยสนามไฟฟ้า 4. การกระตุ้นเมล็ดมะเขือเทศด้วยความเข้มสนามไฟฟ้า 20 kV/m เป็นเวลา 12 ชั่วโมง โดยทิศทางสนามไฟฟ้าพุ่งลง จากขั้วบวกเข้าสู่ขั้วลบ สามารถช่วยเพิ่มผลผลิตและย่นระยะเวลาในการปลูกได้ดีกว่ากลุ่มที่ไม่ผ่านการกระตุ้นด้วยสนามไฟฟ้า กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยดี เนื่องจากได้รับความกรุณาจาก คุณ อรรถพร บัวชื่น ที่คอยชี้แนะแนวทางในการ แก้ปัญหา ให้คาปรึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ และขอขอบคุณ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์พื้นฐาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ที่ให้การเอื้อเฟื้อวัสดุและอุปกรณ์ในการทาวิจัย จนงานวิจัยนี้สาเร็จสมบูรณ์ เอกสารอ้างอิง [1] ศศิธร ภรินทนันท์. (2547). ลักษณะทางพืชสวนและการถ่ายทอดทางพันธุกรรมของลักษณะต้านทานโรคราในมะเขือเทศ . สืบค้นเมื่อ 26 ธันวาคม 2560, จาก www.tnrr.in.th/index.php?page=result_search&record_id=288050 [2] พงศ์พล เชยชม. (2552). พัฒนา"ข้าวไทย"ด้วย"สนามไฟฟ้า" . สืบค้นเมื่อ 26 มิถุนายน 2560, จาก http:/A /sunsangfun.blogspot.com/2009/07/blog-post_1517.html [3] Zhi-bin Gui, Li-min Qiao and Jun-jun Zhao (2003). Improved germination of pine seeds by electrostatic field treatment. Proceedings of the XII Word Forestry Congress 2003, Quebec, Canada. [4] สุรภี พิมพ์ละออ. (2559). ผลของความเข้มสนามไฟฟ้า ระยะเวลา และตาแหน่งการวางเมล็ดต่อการงอกและการ เจริญเติบโตของมะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์. รายงานโครงงานวิจัย ปริญญาการศึกษาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยทักษิณ. [5] ภัทรี เกียรติกาจร และคณะ. (2546). การศึกษาผลการเจริญเติบโตของถั่วงอกจากอิทธิพลของความเข้มสนามไฟฟ้าและ ตาแหน่งการวางเมล็ด. วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง.

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3