Proceeding2562
921 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน บทนา พรีไบโอติก (prebiotic) เป็นสารพวกโอลิโกแซคคาไรด์และโพลีแซคคาไรด์ที่ไม่ละลายนาแต่ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโต ของแบคทีเรียที่มีประโยชน์ในระบบทางเดินอาหารและช่วยยับยังกลุ่มแบคทีเรียฉวยโอกาสและแบคทีเรียก่อโรค พรีไบโอติกหลาย ชนิดที่มีจาหน่ายอยู่ ในท้องตล าด ที่นิยม ใ ช้ ในอุตสาหกร รมอาหา รและยา เ ช่น fructooligo-saccharide, galacto- oligosaccharide, lactulose, polydextrose [1] นอกจากนันการย่อยพรีไบโอติกยังช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกัน ลดการติดเชือในลาไส้ ช่วยให้ขับอุจจาระได้ดีขึน โดยผลของการหมักในทางเดินอาหารจะเปลี่ยนตาแหน่งของกรดไขมันสายสัน และช่วยเพิ่มนาหนักของ อุจจาระ ลดความเป็นกรดในลาไส้ ลดปริมาณไนโตรเจนในผลิตภัณฑ์สุดท้าย ช่วยให้เอนไซม์ทางานน้อยลง เพิ่มการรวมตัวของ โปรตีนหรือเพิ่มตัวดูดซับแร่ธาตุต่างๆ [2] พืนที่ในเขตอุทยานแห่งชาติภูพาน จังหวัดสกลนคร จัดเป็นพืนที่ป่าแห่งหนึ่งที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเห็ดและพืชกินได้ที่เป็นแหล่งอาหารและรายได้ที่สาคัญของชุมชนที่อาศัยโดยรอบ พบเห็ดกินได้หลากหลายสาย พันธุ์กระจายอยู่ในพืนที่ป่า และในปัจจุบันพบว่าการบริโภคเห็ดได้เพิ่มสูงขึน ซึ่งเห็ดจัดเป็นแหล่งของโปรตีน วิตามิน และแร่ธาตุ บางชนิด สมบัติของเห็ดจึงมีความน่าสนใจ และยังพบว่ามีการนาเห็ดไปใช้ในทางโภชนเภสัชมากขึน [3 ] ซึ่งสารโพลีแซคคาไรด์ใน เห็ดเป็นแหล่งสาคัญของการมีคุณสมบัติเป็นพรีไบโอติก ซึ่งประกอบไปด้วย ไคติน เฮมิเซลลูโลส แอลฟาและเบต้ากลูแคน แมนแนน ไซแลน และกาแลคโตสซึ่งจะพบในปริมาณที่แตกต่างกัน ดังนันผู้วิจัยจึงต้องการศึกษาคุณสมบัติในการเป็นพรีไบโอติกที่ช่วยส่งเสริม การทางานของจุลินทรีย์กลุ่มโพรไบโอติกในทางเดินอาหารจากเห็ดป่ากินได้ เพื่อเป็นอีกแนวทางหนึ่งในการนาไปใช้ประโยชน์ใน การบริโภค วิธีการวิจัย นาเห็ดป่าที่เก็บและซือจากร้านโดยรอบบริเวณอุทยานแห่งชาติภูพาน จังหวัดสกลนคร จานวน จานวน 3 ชนิด ได้แก่ เห็ด ระโงกขาว ( Amanita princeps Corner & Bas.) เห็ดนาหมาก ( R. luteotacta Rea.) และเห็ดบดหรือเห็ดกระด้าง ( Lentinus polychrous Lev.) นามาคัดแยกชนิดเพื่อล้างนาเอาดินออกให้หมด จากนันนาใส่ตะแกรงตากให้แห้งและนาไปอบที่ 40 องศา เซลเซียส เป็นเวลา 4 ชั่วโมง เก็บไว้ในห้องปฏิบัติการเพื่อการนาไปสกัดในขันตอนต่อไป การหาปริมาณคลอโรฟิลล์ ตามวิธีของ Whitham และคณะ [4] ชั่งตัวอย่างเห็ดอบแห้งที่บดละเอียด 1 กรัม เติมสารละลายอะซิโตนความเข้มข้น 80% 10 ml วางไว้ที่อุณหภูมิห้องนาน 15 นาที จากนันกรองด้วยกระดาษกรอง Whatman No.1 ปรับปริมาตรด้วยสารละลายอะซิโตนความเข้มข้น 80% ให้ได้ปริมาตร สุดท้ายเท่ากับ 25 ml นาสารละลายที่ได้ไปวัดค่าการดูดกลืนแสง (optical density, OD) ที่ความยาวคลื่น 645 และ 663 นาโน เมตร ด้วยเครื่อง spectrophotometer โดยใช้สารละลายอะซิโตน ความเข้มข้น 80% เป็น blank บันทึกค่าที่ได้แล้วนาไปคานวณ ปริมาณคลอโรฟิลล์ ปริมาณคลอโรฟิลล์เอ = {12.7[OD 663 – 2.69(OD 645 )]} x [V (1,000xW)] ปริมาณคลอโรฟิลล์บี = {22.9[OD 645 – 4.69(OD 663 )]} x [V (1,000xW)] ปริมาณคลอโรฟิลล์ทังหมด = {20.2[OD 645 – 8.02(OD 663 )]} x [V (1,000xW)]
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3