Proceeding2562
923 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ผลการวิจัย การทดสอบหาปริมาณสารไลโคปีน เบต้า-แคโรทีน และคลอโรฟิลล์ในเห็ด พบว่าเห็ดนาหมากมีค่าความเข้มข้นของไลโค ปีนมากที่สุด รองลงมาคือเห็ดระโงกขาว และเห็ดบด ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.535 ± 0.037, 0.159 ± 0.161 และ 0.179 ± 0.022 mg/100 mg ตามลาดับ ส่วนการวิเคราะห์คลอโรฟิลล์ในเห็ดป่าพบว่าในเห็ดบดมีคลอโรฟิลล์มากที่สุด และรองลงมาคือ เห็ดนา หมาก ซึ่งมีค่าเท่ากับ 12.822 ± 0.005 และ 10.236 ± 0.008 ตามลาดับ ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ปริมาณไลโคปีน เบต้า-แคโรทีน และคลอโรฟิลล์ที่พบในเห็ดป่ากินได้ในเขตอุทยานแห่งชาติภูพาน จังหวัดสกลนคร ชนิดเห็ด ไลโคปีน (mg/100 mg) เบต้าแคโรทีน (mg/100 mg) คลอโรฟิลล์ (mg/100 mg) ระโงกขาว 0.429±0.093 0.159±0.161 10.236±0.008 นาหมาก 0.598±0.135 0.535±0.037 12.822±0.005 บด 0.128±0.005 0.179±0.022 16.976 ±0.008 การทดสอบสมบัติพรีไบโอติกของเห็ดป่าในอาหารเลียง L. plantarum TISTR 1465 พบว่าส่วนของหมวกเห็ดระโงกขาว และส่วนของก้านเห็ดระโงกขาวมีค่าเปอร์เซ็นต์การส่งเสริมการเจริญในอาหาร MRS ที่เลียง L. plantarum TISTR 1465 เท่ากับ 156.53±0.069 และ 161.25±0.024 ตามลาดับ สรุปและวิจารณ์ผลการวิจัย จากผลการศึกษาสมบัติพรีไบโอติกจากเห็ดป่ากินได้ในครังนีสามารถประเมินค่าความสามารถสมบัติการเป็นพรีไบโอติกที่ ส่งเสริมการเจริญของแบคทีเรียโพรไบโอติก ในกลุ่ม Lactobacillus ของเห็ดป่าทัง 3 ชนิดที่นามาวิเคราะห์ พบว่าปริมาณของ เบต้า-แคโรทีนที่พบมากที่สุดในเห็ดนาหมากมีค่าสอดคล้องกับรายงานปริมาณไลโคปีนในเห็ดกินได้ที่ Robaszkiewicz และคณะ [7] ที่ศึกษาปริมาณไลโคปีนในเห็ดกินได้หลายชนิดมีปริมาณต่ากว่าปริมาณของเบต้าแคโรทีนอยู่หลายเท่าทังในวิธีการสกัดด้วยเม ทานอลและนา ซึ่งจากการศึกษาในครังนีทาให้ทราบถึงประโยชน์ของการเป็นพรีไบโอติกเบืองต้น ดังนันจึงพอสรุปได้ว่าเห็ดป่ากิน ได้มีประโยชน์ในการนามาบริโภค และเป็นแนวทางในการนามาประยุกต์ใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์เสริมอาหารประเภทอื่นๆ นอกเหนือจากการนาไปเป็นอาหารเท่านัน เอกสารอ้างอิง [1] Bhakta, M. and Kumar, P. (2013). Mushroom polysaccharides as a potential prebiotics, Int . J. Health Sci. Res. 3: 77-84. [2] Douglas, L.C. and Sanders, M.E. (2008). Probiotics and prebiotics in dietetics practice ., J. Amer. Diet. Assoc. 108: 510-512. [3] Aletor, A.V. (1995). Compositional studies on edible tropical species of mushroom ., Food Chem. 54: 265-268.
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3