Proceeding2562
927 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 4 Ͷ บทนา (Introduction) ปอเทืองเป็นพืชในตระกูลถั่วซึ่งนิยมปลูกมากในช่วงก่อนหรือต้นฤดูฝนก่อนที่จะไถกลบหรือเก็บเกี่ยวก่อนปลูกพืชหลัก ซึ่ง ประโยชน์ของต้นปอเทืองนั้นก็จะใช้เป็นปุ๋ยพืชสด เนื่องจากเป็นพืชตระกูลถั่วที่มีไนโตรเจนสูงใช้ปลูกเป็นพืชคลุมดินป้องกันหน้าดิน พังทลาย ปลูกเป็นพืชอาหารสาหรับสัตว์เลี้ยงโค กระบือ รวมถึงเพื่อความสวยงามในการเป็นแหล่งท่องเที่ยว นอกจากนี้ยังสามารถ นามาบริโภคได้และประกอบกับสรรพคุณทางด้านสมุนไพรของปอเทือง (วิศิษฐิพร สุขสมบัติ, 2553) ชา (Tea) เป็นเครื่องดื่มที่ได้จากยอดอ่อน หรือใบ ของชามาแปรรูปด้วยการทาแห้งนามาชงด้วยน้าร้อน เป็นเครื่องดื่มที่ นิยมบริโภคอย่างกว้างขวางทั่วโลกเนื่องจากในชาประกอบด้วยสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็ง และโรค หลอดเลือดหัวใจตีบได้ ซึ่งชามีองค์ประกอบที่แตกต่างกันตามกระบวนการผลิตของชา นอกจากนี้ยังมีพืชสมุนไพรอื่น ๆ ที่สามารถ นามาทาเป็นชาได้แต่ไม่ได้ทาจากใบของต้นชาแต่เป็นชาที่ได้จากการนาส่วนของพืช ได้แก่ ใบ ผล ดอก หรือราก มาอบแห้ง เช่น ใบเตยหอม ขิง ข่า ตะไคร้ เป็นต้น ที่เป็นพืชท้องถิ่น หาง่าย และราคาถูก ซึ่งชาสมุนไพรเป็นชาที่มีประ โยชน์ต่อสุขภาพและมี สรรพคุณต่าง ๆ โดยสมุนไพรจะช่วยเพิ่มกลิ่น สี รส ของชาให้มีความหลากหลายมากขึ้น ซึ่งชาสมุนไพรได้รับการยอมรับและเป็นที่ นิยมอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน เนื่องจากกระแสการบริโภคสินค้าธรรมชาติและสินค้าปลอดสารพิษที่ส่งผลดีต่อสุขภาพอันสืบ เนื่องมาจากสภาพสังคมปัจจุบันที่เร่งรีบทั้งในด้านการทางานและการดาเนินชีวิตประจาวันจึงทาให้ผู้บริโภคไม่มีเวลาในการดูแล สุขภาพของตนเอง ดังนั้นผู้บริโภคจึงต้องการผลิตภัณฑ์ที่ช่วยเสริมสร้างสุขภาพให้ร่างกาย การบริโภคพืชสมุนไพรในรูปแบบ ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มสมุนไพรเป็นทางเลือกหนึ่งที่กาลังได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในปัจจุบัน เนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์ที่สะดวกใน การบริโภค อีกทั้งยังมีสมบัติเสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกันให้ร่างกายนอกจากประโยชน์ในด้านอื่น ๆ เช่น ใช้เป็นยารักษาโรค อาหาร เสริม และเครื่องสาอาง เป็นต้น จึงทาให้มีการผลิตผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ จากสมุนไพรเพื่อการค้ามากขึ้น วัตถุดิบที่นิยมใช้การผลิต เครื่องดื่มสมุนไพรมักมาจากวัตถุดิบที่มาจากธรรมชาติ เนื่องจากให้คุณค่าทางโภชนาการที่สูงและมีประโยชน์ต่อร่างกาย (สมชัย ธารารุ่งเรือง และหนึ่งฤทัย นวชาติกุล, 2555) ทาให้ผู้วิจัยมีแนวคิดในการศึกษาการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชาปอเทืองเพื่อสุขภาพขึ้น ทั้งนี้ เพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง และเพิ่มทางเลือกให้กับผู้บริโภคในการเลือกบริโภค เครื่องดื่มชา วิธีดาเนินการวิจัย (Methods) 1. การเตรียมวัตถุดิบ ทาการเตรียมใบและดอกปอเทือง โดยการคัดเลือกใบอ่อนปอเทืองที่ระยะ 2-3 สัปดาห์ ยอดอ่อนใบปอเทืองที่ระยะ 50- 60 วัน และดอกปอเทืองที่ 50-60 วัน จากตาบลราแดง อาเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา มาคัดแยกสิ่งแปลกปลอมออก และ ตรวจสอบคุณภาพของวัตถุดิบ นาไปล้างทาความสะอาด และวางให้สะเด็ดน้า ชั่งน้าหนักตัวอย่างเริ่มต้นและนาตัวอย่างมาเกลี่ยเป็น ชั้นบางๆ ในถาดอบ 2. ศึกษาผลของระยะเวลาและอุณหภูมิในการอบแห้งใบและดอกปอเทือง ศึกษาผลของระยะเวลาและอุณหภูมิในการผลิตชาจากใบอ่อนปอเทือง ยอดอ่อนใบปอเทือง และดอกปอเทือง โดยการนา ส่วนต่างๆ ของปอเทืองมาคั่วที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10, 15 และ 20 นาที แล้วนาตัวอย่างที่ได้มาอบแห้งที่อุณหภูมิ 80 และ 90 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 60 นาที แล้วทาการเตรียมตัวอย่างผงชาและน้าชาสาหรับนาไปทดสอบคุณลักษณะต่างๆ กรณีทดสอบผงชาปอเทือง เตรียมผงชาโดยการนาชาที่ผ่านการอบแห้งมาบดให้เป็นผงขนาดเล็ก กรณีทดสอบน้าชา เตรียมน้าชา
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3