Proceeding2562
928 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 5 ͷ โดยการชงผงชา 1 กรัมต่อน้าร้อน 100 มิลลิลิตร โดยแช่น้าร้อนเป็นเวลา 2-3 นาที แล้วนาตัวอย่างผงชาและน้าชาที่เตรียมได้ไป วิเคราะห์คุณลักษณะของชาดังต่อไปนี้ 2.1 คุณลักษณะทางด้านกายภาพ โดยการตรวจวัดค่าสี L*, a* และ b* ของชาและน้าชาในระบบ Hunter lab 2.2 คุณลักษณะทางด้านเคมี ได้แก่ การตรวจวัดค่าปริมาณน้าอิสระ (water activity; a w ) ของผงชา ค่า pH ของน้าชา และวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี ได้แก่ ความชื้น เยื่อใย และเถ้า (AOAC, 2000) ของผงชา 2.3 วิเคราะห์หาปริมาณแทนนิน โดยดัดแปลงจากวิธีของ Hou และคณะ (2003) ให้สารประกอบฟีนอลิกทาปฏิกิริยากับ Folin-ciocalteu reagent โดยใช้กรดแทนนิกเป็นสารมาตรฐาน และสารตัวอย่างที่เตรียมได้ปริมาตร 0.2 มิลลิลิตร เติมน้า 2.5 มิลลิลิตร และเติมสารละลายเฟอร์รินปริมาตร 0.2 มิลลิลิตร เขย่าให้เข้ากันดี และเติม 7% โซเดียมคาร์บอเนต (Na 2 CO 3 ) ปริมาตร 2 มิลลิลิตร นาไปเขย่าให้สารผสมกันด้วยเครื่องผสม ตั้งทิ้งไว้ในที่มืด 90 นาที นาไปวิเคราะห์ค่าการดูดกลืนแสงด้วยเครื่องสเปกโทร มิเตอร์ (spectrometer) และวัดค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 760 นาโนเมตร หาปริมาณสารประกอบแทนนิน จากกราฟ มาตรฐานกรดแทนนิกที่ความเข้มข้น 0-400 µg/ml รายงานผลเป็น µg tannin/100 ml ตัวอย่าง 2.4 วิเคราะห์หาปริมาณฟีนอกลิกทั้งหมด โดยดัดแปลงจากวิธีของ Hou และคณะ (2003) ให้สารประกอบฟีนอลิกทา ปฏิกิริยากับ Folin-ciocalteu reagent โดยใช้กรดแกลลิกเป็นสารมาตรฐาน และสารสกัดหรือตัวอย่างที่เตรียมได้ปริมาตร 0.2 มิลลิลิตร เติมน้า 2.5 มิลลิลิตร และเติมสารละลายเฟอร์รินปริมาตร 0.2 มิลลิลิตร เขย่าให้เข้ากันดี และเติม 7% โซเดียม คาร์บอเนต (Na 2 CO 3 ) ปริมาตร 2 มิลลิลิตร นาไปเขย่าให้สารผสมกันด้วยเครื่องผสม ตั้งทิ้งไว้ในที่มืด 90 นาที นาไปวิเคราะห์ค่าการ ดูดกลืนแสงด้วยเครื่องสเปกโทรมิเตอร์ (spectrometer) และวัดค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 748 นาโนเมตร นาค่าการ ดูดกลืนแสงที่ได้ไปคานวณปริมาณฟีนอลิกทั้งหมดในตัวอย่างเปรียบเทียบกับกราฟมาตรฐานของสารละลายแกลลิกที่ความเข้มข้น 0-400 µg/ml รายงานผลเป็น µg GAE/100 ml ตัวอย่าง 2.5 การทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูล DPPH•ทดสอบความสามารถดักจับอนุมูล DPPH ของน้าชาที่เตรียมได้จากปอเทืองตาม วิธีการของ Hutadilok-Towatana และคณะ (2006) โดยนาน้าชาที่เตรียมได้จากปอเทืองแต่ละชนิดมาเตรียมเป็นสารละลายที่ ระดับความ เข้มข้นต่างๆ ในเอทานอล ปริมาตร 0.5 มิลลิลิตร แล้วเติมสารละลาย 0.2 mM DPPH (2,2-Diphenyl-1- picrylhydrazyl) ปริมาตร 1 มิลลิลิตร ลงไปในเอทานอล ผสมให้เข้ากัน วางไว้ในที่มืด ณ อุณหภูมิห้อง นาน 30 นาที แล้วนาไปวัด ค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 518 นาโนเมตร เปรียบเทียบกับชุดควบคุมซึ่งใส่เอทานอลแทนสารละลายตัวอย่างจากปอเทือง โดยใช้เอทานอลเท่านั้นที่เป็น blank นาค่าที่วัดได้มาคานวณหาเปอร์เซ็นต์การดักจับอนุมูล DPPH• จากสูตร โดยเทียบกับกราฟ มาตรฐานของสารละลายมาตรฐาน Trolox ที่ความเข้มข้น 0.01-0.05 mg/ml รายงานผลเป็น mg Trolox equivalents (TE)/100 ml ตัวอย่าง ตามสมการที่ (1) % inhibition = [(A control -A sample )/A control ] x 100 ........สมการที่ (1) A control คือ ค่าการดูดกลืนแสงของชุดควบคุม A sample คือ ค่าการดูดกลืนแสงของชุดทดสอบ 3. การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ทาการวิเคราะห์ 3 ซ้าในทุกชุดการทดลอง สาหรับการวิเคราะห์ทางกายภาพและทางเคมี ทาการวางแผนการทดลองแบบ สุ่มสมบูรณ์ (Randomized Completely Block Design, RCBD) ทาการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวน (Analysis of variance) และวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างชุดการทดลองโดยใช้ Duncan’s New Multiple Range Test (DMRT) ที่ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 95
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3