Proceeding2562

931 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 8 ͺ (ข) คั่วที่เวลา 10, 15 และ 20 นาที ตามลาดับ และอบที่อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส ภาพที่ 6 น้าชาจากใบปอเทืองที่ระยะเวลา 50-60 วัน (ก) คั่วที่เวลา 10, 15 และ 20 นาที ตามลาดับ และอบที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส (ข) คั่วที่เวลา 10, 15 และ 20 นาที ตามลาดับ และอบที่อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส (ข) ภาพที่ 7 น้าชาจากดอกปอเทืองที่ระยะเวลา 50-60 วัน (ก) คั่วที่เวลา 10, 15 และ 20 นาที ตามลาดับ และอบที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส (ข) คั่วที่เวลา 10, 15 และ 20 นาที ตามลาดับ และอบที่อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส เมื่อพิจารณาค่าสี L* (ค่าความสว่าง), a* (ค่าสีเขียว-สีแดง) และ b* (ค่าสีน้าเงิน-เหลือง) ของผงชาจากยอดอ่อน ใบและ ดอกปอเทือง (ตารางที่ 1-3) พบว่าผงชาจากยอดอ่อน ใบและดอกปอเทืองมีค่าความสว่าง (L*) ลดลง ส่วนค่าความเป็นสีแดง (a*) และค่าความเป็นสีเหลือง (b*) เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อระยะเวลาในการคั่วและอุณหภูมิในการอบเพิ่มขึ้น โดยเมื่อเปรียบเทียบระหว่างผงชาที่คั่วในระยะเวลาเดียวกัน พบว่าชาที่ผ่านการอบที่อุณหภูมิสูงกว่า (90 องศาเซลเซียส) มีค่า L*, a* และ b* ต่ากว่าผงชาที่อบที่อุณหภูมิต่ากว่า (80 องศาเซลเซียส) ทั้งนี้เนื่องจากอิทธิพลของระยะเวลาและอุณหภูมิส่งผลให้ผงชา มีสีเข้มขึ้น ในขณะเดียวกันเมื่อเตรียมเป็นน้าชาจากยอดอ่อน ใบและดอกปอเทือง พบว่าให้ผลเช่นเดียวกันกับผงชา คือน้าชามีค่า L* ลดลง ส่วนค่า a* และ b* เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<0.05) โดยเมื่อระยะเวลาในการคั่วเพิ่มขึ้นและอุณหภูมิในการอบ สูงขึ้นส่งผลให้น้าชามีค่า L* ลดลง ส่วนค่า a* และ b* เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<0.05) (ก) (ข) (ข) (ก) 10 15 20 10 15 20 10 15 20 10 15 20

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3